สรุป ผลการดำเนินงาน มูลนิธิรักษ์เด็ก ในปี พ.ศ.๒๕๖๕ และแผนงาน ปี ๒๕๖๖

 บทสรุปส ำหรับผู้บริหำร 

ผลกำรด ำเนินงำนมูลนิธิรักษ์เด็กในปีพ.ศ.๒๔๖๕ 

ในปีพ.ศ. ๒๕๖๕ มูลนิธิรักษ์เด็ก ประสบควำมส ำเร็จในกำรด ำเนินงำน ๘ โครงกำร ๕ กิจกรรมส ำคัญ  และด ำเนินงำนร่วมกับหน่วยงำนภำยนอก ๑ โครงกำรดังนี้ 

๑.โครงกำร “สนับสนุนกำรรักษำโรคหัวใจแก่เด็กและครอบครัวที่อยู่ในภำวะยำกลำ บำก” (PFCP) มูลนิธิรักษ์เด็กสามารถด าเนินงานได้ต่อเนื่องในการสนบั สนุนการผ่าตดัโรคหัวใจแก่เด็กและผูใ้หญ่ที่ขดั สนค่าใ ช้จ่ายตามสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ช่วยให้รอดชีวิตจากวิกฤติของโรคหัวใจ จ านวน ๓๖ ราย  ออกหน่วยแพทยเ์คลื่อนที่เพื่อบริการคดักรองโรคหัวใจ จา นวน ๑ คร้ังมีผูเ้ขา้รับบริการตรวจคดักรองจา นวน ๓๒๑ คน 

๒. โครงกำร “พัฒนำเยำวชน อ ำเภอฝำง” จังหวัดเชียงใหม่ (DMAP) 

มูลนิธิรักษ์เด็ก ต่อยอด การด าเนินงาน “โครงกำรพัฒนำเยำวชนอ ำเภอฝำง” จังหวัดเชียงใหม่ จากปี  พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๓ จ น สิ้ น สุ ด โ ค ร ง ก า ร ใ น ปี พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๕ ซึ่ ง ป ร ะ ส บ ค ว า ม ส า เ ร็ จ ใ น ก า ร เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ วิ ช า ชี พ เ ย า ว ช น ที่ ก า ลั ง เ รี ย น  ช้นั มธัยมตอนตน้ ดว้ยหลกัสูตรของวิทยาลยัการอาชีพฝางร่วมกบัความชา นาญของคณะครูในโรงเรียนพนัธมิตรเ จ็ดแห่งและการสนับสนุนจากเครือข่ายของชุมชนในแต่ละต าบล ครอบคลุมจ านวนกลุ่มเป้าหมายสะสมกว่า  ๑,๒๗๒ คน คิดเป็ นร้อยละ ๗๐ ที่เรียนต่อสายอาชีพ และ ร้อยละ ๙๐ เรียนต่อรวมสายสามัญและสายอาชีพ  พร้อมท้ังได้รับใบประกาศนียบัตรวิชาชีพระยะส้ัน ที่ออกโดยส านักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา เพื่อใช้เป็ นหลักฐานในการยื่นสมัครงานในกรณีที่มีความจ าเป็ นต้องออกจากโรงเรียนกลางคัน หรือเรียนจบ ม.3  แ ล้ ว ไ ม่ ไ ด้ เ รี ย น ต่ อ แ ล ะ ไ ด้ มี ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม เ ย า ว ช น น อ ก ร ะ บ บ โ ร ง เ รีย น ก ว่ า ๓ ๔ ค น  ซึ่ ง เ ป็ น ลู ก ห ล า น ข อ ง ค น ง า น ข้ า ม ช า ติ แ ล ะ ก ลุ่ ม ช า ติ พั น ธุ์ ที่ มี ค ว า ม เ ป ร า ะ บ า ง ก ว่ า ร้ อ ย ล ะ  ๙ ๐ ไ ด้ฝึก ทัก ษ ะ อ า ชีพ เ พื่ อ ก า ร ยัง ชีพ กับ ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ น พ้ืน ที่ 

อีกท้ังได้เรียนหลักสูตรพนักงานผูช้ ่วยทางการพยาบาล มีอาชีพที่มั่นคง หลุดพ้นการเป็นลูกจ้างรายวนั ส า ม า ร ถ ดู แ ล ต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รั ว ไ ด้  ท้ังน้ียังมีเด็กและเยาวชนที่ได้รับช่วยเหลือเร่งด่วนจากภาวะความยากล าบากต่างๆ กว่า ๗๘๒ คน ได้รับการสนับสนุนในการขอทุนการศึกษาต่อระยะยาว (ปวช. / ป.ตรี) หลังจบ ม.3, ม.6 กว่า ๑๓  ค น ท า ใ ห้ ค ร อ บ ค ลุ ม จ า น ว น ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย ที่ ไ ด้ รับ ผล ป ระโย ช น์ท้ัง สิ้น กว่า ๒,๑ ๐ ๒ ค น 

อนัจะช่วยพฒั นาคุณภาพชีวิตของเขาให้ดีข้ึน ผ่านการทา งานร่วมกนั ระหว่างโรงเรียน วิทยาลยัการอาชีพ อา เภอ ทอ้งถิ่น จิตอาสาชุมชน สถานประกอบการในพ้ืนที่และหน่วยงานภาคีเครือข่ายอื่นๆ 

๓. โครงกำร “เสริมพลงัแก่กลุ่มผู้หญิงพงึ่ ตนเองเพื่อส่งเสริมสุขภำพและกำรพฒั นำแก่ลูกหลำน” (MWEC) สนับสนุนโดย kinder not hilfe (KNH) 

มู ล นิ ธิ รั ก ษ์ เ ด็ ก ต่ อ ย อ ด ก า ร ด า เ นิน ง า น โคร งกา ร น้ีต่ อ เ นื่ อ ง จ า ก ปี พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๔  ซึ่งเป็ นปี ที่สองของการด าเนินโครงการน าร่อง เป็ นโครงการเต็มรูประยะเวลา ๕ ปี ระหว่างปี พ.ศ.๒๕๖๕ ถึง  พ.ศ.๒๕๖๙ดา เนินการในอา เภอสันทราย จงัหวดัเชียงใหม่ ๓ ตา บลไดแ้ก่ ตา บลหนองหาร ตา บลแม่แฝกใหม่ แ ล ะ ต า บ ล ป่ า ไ ผ่ ซึ่ ง ใ น ปี พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๕ ป ร ะ ส บ ค ว า ม ส า เร็จในด าเนินงาน ๒ ส่วน ได้แก่ ๑. งานด้านการส่งเสริมพฒั นาศักยภาพกลุ่มผูห้ ญิง จัดต้ังกลุ่มผูห้ ญิงพ่ึงตนเอง(SHG) ใหม่เพิ่มข้ึนอีก ๕ กลุ่ม รวมท้งัสิ้นปัจจุบนั มีกลุ่มผู้หญิงพึ่งตนเอง (SHG) จา นวน ๑๓ กลุ่ม มีสมาชิกของกลุ่มรวมกันท้งัสิ้นจา นวน ๑ ๒ ๔ ค น มี เ ด็ ก ลู ก ห ล า น ข อ ง ส ม า ชิก ก ลุ่ ม ร ว ม ท้ัง สิ้น จ า น ว น ๑ ๕ ๔ ค น  มีกา รออ ม เ งิน ของ ทุกกลุ่ ม เ ป็น ป ระ จ า และ มียอ ด เ งิน กอง ทุน เ พิ่ ม ข้ึน ส ม่ า เ ส ม อ  บ า ง ก ลุ่ ม ไ ด้ มี ก า ร แ ผ น ก า ร ใ ช้ เ งิ น ก อ ง ทุ น เ พื่ อ น า ไ ป ล ง ทุ น ท า ธุ ร กิ จ ข อ ง ต น เ อ ง  น าไ ป ส นับ ส นุนจัด ซ้ืออุป กรณ์เ สริม เพื่อการศึกษ าของลูก และ เพื่อแก้ไข ปัญหา ปากท้อง ๒.งานด้านการส่ งเสริ มพัฒนาเครื อข่ายแกนน าเยาวชนบุตรหลานคนงานข้ามชาติ (เครื อข่ายMYL) อ บ ร ม พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ แ ก น น า เ ย า ว ช น จ า ก ๓ โ ร ง เ รี ย น พั น ธ มิ ต ร จ า น ว น ๖ ๑ ค น  ด้วยกระบวนการพัฒนาทักษะชีวิต บทบาทการเป็นแกนนา และจดั ต้งัเครือข่ายเยาวชนลูกหลานคนงานขา้มชาติ เพื่อทา หนา้ที่ในนา ความรู้ที่ไดร้ับไปถ่ายทอดใหแ้ก่เพื่อนๆ พี่ๆนอ้งๆ ในโรงเรียนและชุมชนของตนเองต่อไป 

๔. โครงกำรเสริมพลงัและควำมเข้มแข็งแก่เครือข่ำยเยำวชนชำติพนัธ์ุและชนเผ่ำพื้นเมือง และเครือข่ำยองค์กรภำคประชำสังคมด้ำนสิทธิเด็กในภำคเหนือตอนบนของประเทศไทย (EE-CR/  Diakonia Thailand) 

มูลนิธิรักษ์เด็ก ต่อยอด การดา เนินงาน โครงการน้ีจากการดา เนินงาน ต้งัแต่เดือนตุลาคม ๒๕๖๔ ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๖๕ และระหว่างเดือนเมษายน ถึงเดือนธันวาคม ๒๕๖๕ ประสบความส าเร็จในกา ร เมื่อวันที่ ที่ ๒๙ มีนาคม  พ.ศ. ๒๕๖๕ ได้มีพิธีลงนามในบันทึกความเข้าใจรับรองธรรมนูญของเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา (MOU) จ านวน  ๓๗ องค์กร ที่ท างานด้านเด็ก ประกอบด้วยหน่วยงานภาครัฐ จ านวน ๕ องค์กร ภาคประชาสังคม ๑๕ องค์กร  และกลุ่มเครือข่ายเด็กและเยาวชนจ านวน ๑๗ กลุ่ม โดยสมำชิกองค์กรเครือข่ำยได้มีมติเห็นชอบให้มูลนิธิ  รักษ์เด็ก ท าหน้าที่เป็ นกองเลขานุ การเครื อข่ายสิ ท ธิ เด็ก ล้านนา ได้สนับส นุนให้เกิดการจัดต้ัง “เครือข่ำยเยำวชนนักกิจกรรมสิทธิเด็ก” (CRYA) มีโครงสร้างการท างานเครือข่ายโดยมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ  และแผนงานรวมเป็ นหนึ่งเดียวเพื่อวัตถุประสงค์ในการสนับสนุนสิทธิเด็ก คณะกรรมการเครือข่าย CRYA ท้งั

๑๘ ค น ซึ่ ง ม า จ า ก ก ร ะ บ ว น ก า ร คัด เ ลื อ ก โ ด ย เ ค รื อ ข่ายเยาว ชนฯ ขณะน้ีประธานเครือข่าย เ ย า ว ช น นั ก กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สิ ท ธิ เ ด็ ก (CRYA)  ไ ด้ รั บ ก า ร คั ด เ ลื อ ก ใ ห้ เ ป็ น ร อ ง ป ร ะ ธ า น ส ภ า เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย  ซึ่งเป็ นโอกาสที่จะน าเสนอปัญหาข้อคิดเห็นจากเด็กและเยาวชนน าไปสู่เวทีระดับประเทศได้ในอนาคต 

อีกหนึ่งความส าเร็จจากการติดตามงานในฐานะกองเสขาเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนาและองค์กรสมาชิกได้ ร่วมตามข้อมูลความเคลื่อนไหวร่วมกับทีมสหวิชาชีพคุ้มครองเด็กเชียงใหม่ (MDT) พบว่าคา สั่งตา รวจภูธรภาค ๕ ห้ า ม กั ก ขั ง เ ด็ ก ไ ว้ กั บ ค ร อ บ ค รั ว ใ น ส ถ า นี ต า ร ว จ ทุ ก แ ห่ ง  ซึ่งเป็ นเป็ นผลจากด าเนินงานในฐานะกองเลขาของเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา ที่ได้มีส่วนร่วมผลักดัน เสนอแนะ  ติดตามร่วมกบั สมาชิกองค์กรเครือข่าย ไดเ้ริ่มการประชุมอย่างไม่เป็นทางการ ต้งัแต่เดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๔ ค า สั่ง ดังกล่าวไ ด้ใ ห้ควา ม ยุติธรร ม และใ ห้สิท ธิแก่ผู้ติด ต า ม ผู้อ พ ย พ และผู้ขอล้ีภัย เ ด็ ก ที่ เ ดิ น ท า ง กั บ พ่ อ แ ม่ จ า ก ป ร ะ เ ท ศ เ พื่ อ น บ้ า น ข้ า ม พ ร ม แ ด น เ มี ย น ม า ร์ แ ล ะ ไ ท ย  โดยเฉพาะในจังหวัดทางภาคเหนือตอนบน 

๕ . โ ค ร ง ก ำ ร  เสริมสร้ำงขีดควำมสำมำรถในกำรเสริมสร้ำงควำมพร้อมเชิงรุกแก่ภำคประชำสังคมให้สำมำรถยืนหยัด ดูแลเด็กและเยำวชนเมื่อเกิดสภำวะภัยพิบัติ เป็ นโครงการความร่วมมือระดับภูมิภาคระหว่าง Plan International  Asia Regional Hub แ ล ะ CRC Asia ด า เ นิ น ง า น ร ะ ห ว่ า ง เ ดื อ น มี น า ค ม ถึ ง เ ดื อ น มิ ถุ น า ย น ๒ ๕ ๖ ๕  ประสบความส าเร็จในการสร้างความตระหนักรู้ถึงความเสี่ยงและผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนจากภัยพิบัติ และให้ความรู้และทักษะในการป้องกันและลดภัยพิบัติแก่องค์กรภาคประชาสังคมและหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้ อ ง ร ว ม ถึ งค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร นัก เ รี ย น ข อ ง โ ร ง เ รี ย น แ ล ะ แ ก น น า เ ย า ว ช น ใ ห้ไ ด้รั บ ท ร า บ ถึ ง วิ ธี ก า ร 

แนวทางป้องกันและการตอบสนองที่เน้นเด็กเป็ นศูนย์กลาง เช่น School Safety Framework, Child-Friendly  Space แ ล ะ Education in Emergency เ ป็ น ต้ น  ท้ัง น้ีถือเ ป็น การเ ส ริ ม ส ร้ า ง เ ค รื อ ข่ า ย ก า ร ต อ บ ส น อ ง ด้ า น ม นุ ษ ย ธ ร ร ม ใ น ป ร ะ เ ท ศ  และริเริ่มกลไกการประสานงานระหว่างองค์กรภาคประชาสังคมและหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบ เช่น  ส านักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ต ล อ ด จ น ห น่ ว ย ง า น ท้อ ง ถิ่ น ก ลุ่ ม เ ย า ว ช น ที่ เ ป็ น ผู้ น า 

แ ล ะ ห น่ ว ย ง า น ภ า ค ธุ ร กิ จ ใ น เ ข ต ภ า ค เ ห นื อ ต อ น บ น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย  มี ก า ร จั ด ท า ท า เ นี ย บ ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ บ ร ร เ ท า ส า ธ า ร ณ ภั ย ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย  ส่ว น รา ช การ ส าคัญ ที่ไ ด้รับ ม อ บ อ า น าจใ น การ ป้องกัน และ บ รรเ ท า ส าธารณภัย ไ ด้แก่

ส า นั ก ง า น ป้ อ ง กั น แ ล ะ บ ร ร เ ท า ส า ธ า ร ณ ภั ย จั ง ห วั ด  อ าเภอและหน่วยงานท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ซึ่งรวมถึงหมายเลขสายด่วนแจ้งเหตุภัยพิบัติ 1784 การคุ้มครองเด็ก 1300 และบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS)  1669 

โ ด ยรว ม แล้ว จากโครงการ น้ีและกิจกรร ม ห ลัก ที่ เ ส ร็จ สิ้น แล้ว 4 กิจกรร ม เราได้อ านวยความสะดวกในความก้าวหน้าอย่างมากในการตระหนักถึงภัยพิบัติ การป้องกัน การบรรเทา  และกลยุทธ์แบบมีส่วนร่วมที่เป็ นมิตรต่อเด็ก 

๖. โครงกำร “คิดระดับโลก ลงมือระดับท้องถิ่น เพื่อประโยชน์สูงสุดแก่เด็ก : “เสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งและเสริมพลงัแก่เครือข่ำยองค์กรที่ท ำงำนเพื่อสิทธิเด็กในระดับอนุภูมิภำคเพื่อเติมเต็ม ควำมรับผิดชอบในกำรส่งเสริมและปกป้องคุ้มครองสิทธิเด็ก” (LCRC & CRYA /CRC Asia) ต่อเนื่องจำกปี  พ.ศ.๒๕๖๔ 

มูลนิธิรักษ์เด็ก ได้ดา เนินงานต่อยอดการเสริมสร้างความเขม้แข็งแก่เครือข่ายสิทธิเด็กลา้นนา ด้วยโครงการ “ คิด ร ะ ดับ โ ล ก ล ง มือ ร ะ ดับ ท้อ ง ถิ่ น เ พื่ อ ป ร ะ โ ย ช น์สูง สุ ด แ ก่ เ ด็ก ”: “เสริมสร้างความเขม้แขง็และเสริมพลงัแก่เครือข่ายองคก์รที่ทา งานเพื่อสิทธิเด็กในระดบัอนุภูมิภาคเพื่อเติมเต็มค วามรับผิดชอบในการส่งเสริมและปกป้องคุ้มครองสิทธิเด็ก” จากการสนับสนุนของเครือข่ายสิทธิเด็กเอเชีย  (CRC Asia) ซึ่ ง ใ น ปี พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๕  ประสบความส าเร็จในการเสริมสร้างศกัยภาพแก่คณะทา งานสิทธิเด็กเชิงประเด็นและเครือข่ายเยาวชนนกักิจกรร มเพื่อสิทธิเด็ก ๕ เรื่องคือ ๑.การติดตามตรวจสอบการด าเนินงานส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเด็กของรัฐภาคี  ๒ . ทั ก ษ ะ ก า ร ร ณ ร ง ค์ ขั บ เ ค ลื่ อ น ป ร ะ เ ด็ น เ พื่ อ ข จั ด ค ว า ม รุ น แ ร ง ต่ อ เ ด็ ก  โ ด ย เ ฉ พ า ะ ก า ร ล ง โ ท ษ เ ด็ ก ท า ง ก า ย แ ล ะ ท า ใ ห้ ด้ อ ย ค่ า  ๓ . ภั ย แ ล ะ อั น ต ร า ย จ า ก ก า ร ใ ช้ อิ น เ ต อ ร์ เ น็ ต แ ล ะ ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น โ ล ก ดิ จิ ทั ล  ๔.สิ ทธิ เด็กและผลกระทบจากสภาพแวดล้อมที่เสื่ อมโทรม และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ  ๕ . บ ท บ า ท เ ด็ ก ใ น ฐ า น ะ ผู้ พิ ทั ก ษ์ สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ช น  ซ่ึงการเรียนรู้เหล่าน้ีรวมถึงทักษะการรณรงค์สร้างความตระหนักและความเปลี่ยนแปลงด้านกฎหมาย แ น ว ป ฏิ บั ติ ม า ต ร ก า ร ต่ า ง ๆ โ ด ย ห น่ ว ย ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง  โครงการน้ีมีส่วนสา คญั ในการเสริมสร้างความเขม้แขง็แก่เครือข่ายสิทธิเด็กลา้นนา ร่วมกบัโครงการที่๔.  

๗. โครงกำร “เสริมสร้ำงพลังเยำวชนชำติพนัธ์ุสู้ชีวิต” ต่อเนื่องจำกโครงกำรสนับสนุนกำรพฒั นำครูและเด็กนอกระบบกำรศึกษำโดยเครือข่ำยเชิงพื้นที่ : ภำคเหนือ

ในพื้นที่อ ำเภอปำงมะผ้ำ จังหวัดแม่ฮ่องสอน สนับสนุนโดย กสศ. (EEF) ด ำเนินงำนระหว่ำง วันที่ ๑๙ สิงหำคม  พ.ศ. 2565 ถึง ๑๗ มิถุนำยน พ.ศ. ๒๕๖๖ 

มูลนิธิรักษ์เด็ก ไดค้ น้ พบเด็กและเยาวชนที่ตกหล่นจากระบบการพฒั นาและให้การศึกษาของรัฐบาลในพ้ืนที่๕  หมู่บ้าน ๒ ต าบลในอ าเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน รวมท้ังสิ้น ๕๗ คน เป็นเยาวชนที่จบ ม.3  แ ล้ ว ไ ม่ ไ ด้ เ รี ย น ต่ อ จ า น ว น ๑ ๐ ค น เ ย า ว ช น ผู้ที่ อ อ ก จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ก ล า ง คั น จ า น ว น ๔ ๕  ค น แ ล ะ เ ย า ว ช น ที่ เ ป็ น พ่ อ แ ม่ จ า น ว น ๒ ค น  พร้อมกนั น้ีโครงการไดจัดกระบวนการวิเคราะห์ผู้ร่วมเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม ้ และอยู่ระหว่างการวางแผนจัดกระ บวนการเรียนรู้เชิงปฏิบัติอย่างมีส่วนร่วมในปี ๒๕๖๖ 

๘. โครงกำรเสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งและเสริมพลังแก่เครือข่ำยสิทธิเด็กล้ำนนำเพื่อกำรขับเคลื่อน ผลักดัน  ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเด็ก(SE-LCRC) สนับสนุนโดยkinder not hilfe (KNH) ด ำเนินงำนระหว่ำง วันที่ 1 ตุลำคม พ.ศ. 2565 ถึง 31 กันยำยน พ.ศ. 2566 

เ ป้ า ห ม า ย โ ด ย ร ว ม เ พื่ อ ใ ห้อ ง ค์ ก ร ที่ เ ป็ น ส ม า ชิ กเ ค รื อ ข่ า ย สิ ท ธิ เ ด็ ก ล้ า น น า ( LCRC) ก อ งเ ล ข า นุ ก า รข อ ง เ ค รื อ ข่ า ย ฯส า ม า ร ถ ด า เ นิ น ภ า ร กิ จ ห ลัก เ พื่ อ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ป ก ป้ อ ง สิ ท ธิ เ ด็ ก  ผ่ า น ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ข อ ง ค ณ ะ ท า ง า น สิ ท ธิ เ ด็ ก เ ชิ ง ป ร ะ เ ด็ น  อย่างมีส่วนร่วมกับเครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก (CRYA) 

กิจกรรมส ำคัญที่มูลนิธิรักษ์เด็กด ำเนินงำนนอกเหนือโครงกำรระยะยำวในปี พ.ศ.๒๕๖๕  มีดังนี้ 

๑ .จัด กำร ป ระ ชุม รับ ฟัง ค วำ ม คิด เ ห็น กลุ่ม เ ด็กและ ตัวแ ท น อง ค์กร ภ ำ ค ป ระ ช ำ สัง ค ม ใ น เ ค รื อ ข่ ำ ย สิ ท ธิ เ ด็ ก ล้ ำ น น ำ เ รื่ อ ง ก ำ ร ส่ ง เ ส ริ ม สิ ท ธิ เ ด็ ก ใ ห้ เ ป็ น ก ร ะ แ ส ห ลั กใ น อ ง ค์ ก ร ต่ ำ ง ๆ  ภ ำ ย ใ ต้ อ ง ค์ ก ำ ร ส ห ป ร ะ ช ำ ช ำ ติ และสนับสนุนตัวแทนเด็กและตัวแทนองค์กรสมาชิกของเครือข่ายฯเข้าร่วมให้ความคิดเห็นต่อที่ประชุมระดับภู มิภาคเพื่อน าสู่การพัฒนาเอกสารแนวแนะของเลขาธิการใหญ่ องค์การสหประชาชาติ สนับสนุนโดย CRC Asia แ ก น น า เ ย า ว ช น นั ก จั ด กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สิ ท ธิ เ ด็ ก  ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้เรื่องการท าให้สิทธิเด็กเป็ นกระแสหลักเพื่อผลักดัน ให้เกิดความรู้ความเข้าใจในวงกว้าง ได้  และการท าบทบาทในฐานะ เด็กนักปกป้องสิทธิมนุษยชน ร่วมท าแบบส ารวจเกี่ยวกับ กระแสหลักเรื่องสิทธิเด็ก:  บ อ ก ใ ห้ ยู เ อ็ น ท ร า บ ร่ ว ม แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม สิ ท ธิ เ ด็ ก ใ ห้ เ ป็ น ก ร ะ แ ส ห ลั ก มีตัวแทนเยำวชนจำกเครือข่ำยที่เข้ำร่วมท้ังหมด 11กลุ่มเป็นจ ำนวน 23 คน ชำย 8 คน หญิง 15 คน 

๒ . จัด ก ำ ร ป ร ะ ชุ ม รับ ฟัง ค ว ำ ม คิด เ ห็น ก ลุ่ ม เ ด็ก แ ล ะ เ ย ำ ว ช น เ รื่ อ ง ควำมยุติธรรมด้ำนสภำพภูมิอำกำศส ำหรับเด็ก เยำวชนและคนรุ่นต่อไป สนับสนุนโดย CRC Asia

ด าเนิ นการจัดกระบวนการประชุมรับฟั งความคิดเห็นกลุ่มเด็กและเยาวชน มีเด็กและเยาวชนเรื่ อง  ความยุติธรรมด้านสภาพภูมิอากาศส าหรับเด็ก เยาวชนและคนรุ่นต่อไป มีเยำวชนอำยุ9-12 ปี จ ำนวน 11 คน  เยำว ช น อำยุ 1 3 – 1 7 ปี จ ำ น ว น 9 ค น เยำว ช น อำยุ 1 8 – 3 5 ปี จ ำ น ว น 1 9 ค น  ที่เขา้ร่วมการประชุมท้งัออนไลน์และในที่ประชุม 

๓.จัดกำรประชุมรับฟังควำมคิดเห็นกลุ่มเด็กและเยำวชนเรื่ องควำมปลอดภัย (ในโลกดิจิทัล)  ด้วยกำรออกแบบ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ร่วมกับ Young and Resilient Research Center, Western Sydney  University: Sydney มีตัวแทนเด็ก ๆ ให้เข้าร่วมการประชุมปฏิบัติการการศึกษาวิจัย ซึ่งด าเนินการโดย ศูนย์วิจัย  Young and Resilient ม ห า วิ ท ย า ลั ย ซิ ด นี ย์ ต ะ วั น ต ก อ อ ส เ ต ร เ ลี ย  และหน่วยงานกรรมาธิการด้านความปลอดภัยทางออนไลน์ ประเทศออสเตรเลีย ผ่านระบบออนไลน์ ระยะเวลา  2.5 ชวั่ โมงจา นวน 2คร้ัง หญิง 27 คน ชำย 12 คน รวมทั้งหมด 39 คน 

๔.ทุนยังชีพและสร้ำงบ้ำนปลอดภัยจำกกองทุนยังชีพ ของมูลนิธิรักษ์เด็ก (TLSDF’s Living  Fund) มู ล นิ ธิ รั ก ษ์ เ ด็ ก ยั ง ค ง ด า เ นิ น ง า น  มอบทุนยังชีพส าหรับเด็กที่ต้องการการช่วยเหลือเร่ งด่วนและการปรับปรุ งสภาพบ้าน (บ้านรักษ์เด็ก) จากกองทุนของมูลนิธิรักษ์เด็ก (TLSDF’s Living Fund) ต่อเนื่องในปี พ.ศ.๒๕๖๕ จ านวน ๒ ทุน  

๕.ทุนกำรศึกษำต่อเนื่อง ม.๑ถึง ม.๓ โดยเงินได้จำกกองทุนจัดต้ังมูลนิธิรักษ์เด็ก(Scholarship) มูลนิ ธิ รักษ์เด็ก ยังคงด าเนินงานมอบทุนการศึกษาต่อเนื่องส าหรับเด็กระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยเงินไดจ้ากกองทุนจดั ต้งัมูลนิธิรักษเ์ด็ก ในปี พ.ศ.๒๕๖๕ จ านวน ๓ ทุน 

นอกจำกนีม้ ูลนิธิรักษ์เด็กได้ด ำเนินงำนโครงกำรร่วมกับหน่วยงำนอื่นๆอีกหนึ่งโครงกำรคือ 

โครงกำร ช่วยเหลือ คุ้มครอง ไม่มองข้ำมประชำกรกลุ่มผู้มีควำมหลำกหลำยทำงเพศและกลุ่มเปรำะบำง (LGBTQI) ภายใต้ “โครงการส่งเสริมความเท่าเทียมและความเคารพในอัตลักษณ์ที่หลากหลาย” หรือโครงการ  HEARTS ซึ่ งได้รับการสนับสนุนงบประมาณด าเนินงานจากองค์การช่วยเหลือเด็ก ประเทศไทย (Save the  Children Thailand) มู ล นิ ธิ รั ก ษ์ เ ด็ ก ไ ด้ ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ก ลุ่ ม เ ย า ว ช น จ า น ว น 1 ก ลุ่ ม  ดา เนินงานโครงการที่ริเริ่มดว้ยตนเอง ทา การจดักิจกรรม “ค่ำยเรียนรู้และส่งเสริมควำมหลำกหลำยทำงเพศ”

สนับสนุนให้ตัวแทนกลุ่มเด็ก 2 กลุ่มและเจ้าหน้าที่เข้าร่วมกิจกรรมกับทางมูลนิธิช่วยเหลือเด็ก ประเทศไทย  ที่ร่ วมกับภาคีเครื อข่ายเพื่อความเสมอภาคทางเพศ จ านวน 4 คร้ัง และกลุ่มเด็กตัวแทนได้จัดกิจกรรม “ค่ำยเรียนรู้และส่งเสริมควำมหลำกหลำยทำงเพศ” ข้ึนในโรงเรียนของตนเอง โดยมีหน่วยงานที่สนับสนุนคือ โ ร ง เ รี ย น ป า ง ม ะ ผ้ า พิ ท ย า ส ร ร พ์ มู ล นิ ธิ รั ก ษ์ เ ด็ ก  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ าต าบลโดยท าให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รู้จักกับ LGBTQI มากข้ึน ลด ก า รกลั่นแกล้งระรานและรังแกกันในโรงเรียน ส่งเสริมความมั่นใจให้เพศที่หลา ก ห ล า ย และลดการเลือกปฏิบัติ 

——————————————————————————————————– 

ภำพรวมแผนกำรด ำเนินงำนมูลนิธิรักษ์เด็กในปีพ.ศ.๒๔๖๖ 

ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖ มูลนิธิรักษ์เด็ก มีแผนด าเนินงานโครงการต่อเนื่องจ านวน ๕ โครงการ โครงการใหม่  จ านวน ๒ โครงการ และคาดว่าจะมีกิจกรรมส าคัญนอกเหนือโครงการจ านวนอย่างน้อย ๓ กิจกรรม ดังรายละเอียดต่อไปน้ี 

แผนด ำเนินงำนโครงกำรต่อเนื่อง ๕ โครงกำร คือ 

๑.โครงกำร “สนับสนุนกำรรักษำโรคหัวใจแก่เด็กและครอบครัวที่อยู่ในภำวะยำกลำ บำก” (PFCP) ได้งบประมาณสนับสนุนจาก Edwards Lifesciences Foundation ผ่าน CAF America และบริษัท Daiichi Sankyo  Limited Thailand จ านวน ๗๒๐,๐๐๐ บาท 

๒. โครงกำร “เสริมพลังแก่กลุ่มผู้หญิงพึ่งตนเองเพื่อส่งเสริมสุขภำพและกำรพัฒนำแก่ลูกหลำน”(MWEC) เป็ นปี ที่สองของการด าเนินโครงการเต็มรู ประยะเวลา ๕ ปี ระหว่างปี พ.ศ.๒๕๖๕ ถึง พ.ศ.๒๕๖๙ ด าเนินการในอ าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ๓ ต าบลได้แก่ ต าบลหนองหาร ต าบลแม่แฝกใหม่ และต าบลป่าไผ่ ได้งบประมาณสนับสนุนจาก Kindernothilfe (KNH) จ านวน ๑,๘๐๐,๐๐๐ บาท  

๓. โครงกำรเสริมพลังและ ควำมเข้มแข็งแก่เครือข่ำยเยำวชนชำติพันธ์ุและ ชนเผ่ำพื้นเมือง และเครื อข่ำยองค์ กรภำคประชำสังคมด้ ำนสิ ทธิเด็กในภำคเหนือตอนบนของประเทศไทย (EE-CR)  เป็ นปี ที่สามของการดา เนินงาน ต้งัแต่เดือนมกราคม ถึง เดือนธันวาคม ๒๕๖๖ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก  Diakonia Thaialnd จ านวน ๑,๗๐๐,๐๐๐ บาท  

๔. โครงกำรเสริมสร้ ำงควำมเข้มแข็งและเสริมพลังแก่เครือข่ำยสิทธิเด็กล้ำนนำเพื่อกำรขับเคลื่อน ผลักดัน  ส่งเสริม และ คุ้มครองสิทธิเด็ก(SE-LCRC) เป็นไตรมาสที่สองถึงไตรมาสที่สี่ของโครงการ ต้งัแต่เดือนมกราคม ถึง เดือนกันยายน ๒๕๖๖ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก Kindernothilfe (KNH) จ านวน ๕๔๐,๐๐๐ บาท 

. โครงกำร “เสริมสร้ำงพลังเยำวชนชำติพันธ์ุสู้ชีวิต” ในพื้นที่อ ำเภอปำงมะผ้ำ จังหวัดแม่ฮ่ องสอน  เป็ นระ ย ะ ที่ ส องแล ะ ส าม ด าเนิ นงานระ หว่าง วันที่ ๑ ม ก ราคม ถึ ง ๑ ๗ มิ ถุนาย น พ .ศ . ๒ ๕๖ ๖ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ./ EEF)จ านวน ๓๙๐,๐๐๐ บาท 

โครงกำรใหม่ จ ำนวน ๒ โครงกำรได้แก่ 

๑. โครงกำร “ต่อสู้กับกำรแสวงหำประโยชน์ทำงเพศจำกเด็ก” (Combatting Sexual Exploitation of  Children, 2023-2025) ในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่และเชียงรำย เป็นระยะเวลา ๓ ปีต้งัแต่ เ ดื อ น เ ม ษ า ย น ๒ ๕ ๖ ๖ ถึ ง เ ดื อ น มี น า ค ม ๒ ๕ ๖ ๙ ไ ด้ รั บ ง บ ป ร ะ ม า ณ ส นั บ ส นุ น จ า ก เครือข่ายพันธมิตรเพื่อสิทธิเด็กเอเซีย (CRC Asia) ร่วมกับเครือข่าย DownToZero น าโดยแตแดซอม  เนเธอร์แลนด์ (terre des hommes Netherland) จ านวน ๒,๘๘๐,๐๐๐ บาทต่อปี 

๒. โ ค ร ง ก ำ ร ย ก ร ะ ดั บ ทั ก ษ ะ ก ำ ร สื่ อ ส ำ ร เ พื่ อ ง ำ น ร ณ ร ง ค์ แ ก่ เ ย ำ ว ช น (SHIFT)  ร่ วมกับเครือข่ำยเยำวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก (CRYA) ในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ล ำพูน เชียงใหม่และเชียงรำย เป็ นระยะเวลา ๒ ปีต้ังแต่ เดือนเมษายน ๒๕๖๖ ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๖๘

ไ ด้ รั บ ง บ ป ร ะ ม า ณส นั บ ส นุ น จ า ก เ ค รื อ ข่ า ย พัน ธ มิ ต ร เ พื่ อ สิ ท ธิ เ ด็ ก เ อ เ ซี ย (CRC Asia)  ร่วมกับองค์การช่วยเหลือเด็ก ภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Save the Children EPRO) จ านวน  ๕๐๐,๐๐๐ บาทต่อปี  

กจิกรรมส ำคัญที่มูลนิธิรักษ์เด็กคำดว่ำจะได้ร่วมด ำเนินงำนนอกเหนือจำกโครงกำรระยะยำว ในปี พ.ศ.๒๕๖๖ มีดังนี้ 

๑ . จัด ก ำ ร ป ร ะ ชุ ม รับ ฟัง ค ว ำ ม คิด เ ห็น ตั ว แ ท น ก ลุ่ม เ ด็ก แ ล ะ เ ย ำ ว ช น  ใ น เ ค รื อ ข่ ำ ย เ ย ำ ว ช น นั ก กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สิ ท ธิ เ ด็ ก (CRYA) เกี่ยวกับ ข้อเ ส น อแ น ะ ทั่วไ ป ป ระกอ บ อ นุสัญญำว่ำ ด้วย สิท ธิเ ด็ก ฉ บับ ที่ ๒๖ (ร่ำงแรก) ว่ำด้วยสิทธิเด็กในสภำพแวดล้อมที่เน้นเป็นพิเศษเรื่องกำรเปลี่ยนแปลงภูมิอำกำศ ในวันที่ ๒๑ – ๒๒ มกราคม  ๒ ๕ ๖ ๖ ไ ด้รั บ ง บ ป ร ะ ม า ณส นั บ ส นุ น จ า ก เ ค รื อ ข่ า ย พัน ธ มิ ต ร เ พื่ อ สิ ท ธิ เ ด็ ก เ อ เ ซี ย (CRC Asia)  ร่วมกับโดยแตแดซอม เยอรมัน(terre des hommes Germany) จ านวน ๗๕๐๐๐ บาท 

๒ . ร่ ว ม ป ร ะ ส ำ น ง ำ น จัด กำร ป ระ ชุม รับฟัง ค วำ ม คิด เ ห็น ตั ว แ ท น กลุ่ม เ ด็กและเ ย ำ ว ช น  ใ น เ ค รื อ ข่ ำ ย เ ย ำ ว ช น นั ก กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สิ ท ธิ เ ด็ ก (CRYA) เ กี่ ย ว กั บ ภั ย อ อ น ไ ล น์  เพื่อประกอบกำรจัดท ำรำยงำนเสนอสภำสิทธิมนุษยชน ของผู้รำยงำนพิเศษของเลขำธิกำรใหญ่ องค์กำรสหประชำชำติเรื่องควำมรุนแรงต่อเด็ก (SRSG on VAC) ใ น วัน ที่ ๕ มี น า ค ม ๒ ๕ ๖ ๖  ร่วมกับเครือข่ายพันธมิตรเพื่อสิทธิเด็กเอเซีย (CRC Asia) (ไม่มีงบประมาณ) 

๓.ร่วมจัดกำรประชุมคู่ขนำนกับ กำรประชุมระดับภูมิภำคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อกำรพัฒนำที่ยั่งยืน ครั้งที่ ๑๐ (10thAsia Pacific Forum on Sustainable Development) ว่ำด้วยเป้ำหมำยกำรพัฒนำที่ยั่งยืน ข้อ ๖  น ้ำดื่มสะอำดและกำรสุขำภิบำล ในวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๖๖ ณ ส านักงานองค์การสหประชาชาติ  กรุ งเทพมหานคร ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากเครื อข่ายพันธมิตรเพื่อสิ ทธิเด็กเอเซีย (CRC Asia) ร่วมกับองค์การช่วยเหลือเด็กแห่งภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Save the Children EPRO)จ านวน ๑๕๐๐๐๐  บาท 

๔.ทุนยังชีพและสร้ำงบ้ำนปลอดภัยจำกกองทุนยังชีพ ของมูลนิธิรักษ์เด็ก (TLSDF’s Living  Fund) ยังคงด าเนินงาน มอบทุนยังชีพส าหรับเด็กที่ต้องการการช่วยเหลือเร่งด่วนและการปรับปรุงสภาพบ้าน  (บ้านรักษ์เด็ก) จากกองทุนของมูลนิธิรักษ์เด็ก (TLSDF’s Living Fund) ต่อเนื่องในปี พ.ศ.๒๕๖๖  

๕.ทุนกำรศึกษำต่อเนื่อง ม.๑ถึง ม.๓ โดยเงินได้จำกกองทุนจัดต้ังมูลนิธิรักษ์เด็ก(Scholarship)

ยังคง ด า เ นิน งา น ม อ บ ทุน การศึก ษ า ต่อเ นื่อง ส า ห รับ เ ด็กระ ดับ การศึก ษ าข้ัน พ้ืน ฐา น โดยเงินไดจ้ากกองทุนจดั ต้งัมูลนิธิรักษเ์ด็ก 

นอกจำกนีม้ ูลนิธิรักษ์เด็กได้ด ำเนินงำนโครงกำรร่วมกับหน่วยงำนอื่นๆ คือ 

๑. โ ค ร ง ก า ร ส่ ง ม อ บ ข วั ญ แ ล ะ ก า ลั ง ใ จ ใ น วั น เ ด็ ก แ ห่ ง ช า ติ (Better Together)  ด้วยกระเป๋ านักเรียนใบใหม่พร้อมชุดเครื่องเขียนครบครัน ๔๕๐ ชุด ระหว่างวันที่ ๑๔ – ๓๑ มกราคม  ๒๕๖๖ ได้งบประมาณสนับสนุนจาก Edwards Lifesciences Foundation ผ่าน CAF America จ านวน ๔๑๕๐๐๐ บาท 

๒. โครงกำร ช่วยเหลือ คุ้มครอง ไม่มองข้ำมประชำกรกลุ่มผู้มีควำมหลำกหลำยทำงเพศและกลุ่มเปรำะบำง (LGBTQI) ภายใต้ “โครงการส่งเสริ มความเท่าเทียมและความเคารพในอัตลักษณ์ที่หลากหลาย”  หรือโครงการ HEARTS ซึ่ งได้รับการสนับสนุนงบประมาณด าเนินงานจากองค์การช่วยเหลือเด็ก  ประเทศไทย (Save the Children Thailand) (ยังไม่ได้รับการยืนยัน) 

——————————————————————————————————– 

ติดต่อ มูลนิธิรักษ์เด็ก(The Life Skills Development Foundation) 

๑๕๙/๑๑๔ หมู่๑๐ หมู่บ้ำนอนุสำรวิลล่ำ ต.ป่ำแดด อ.เมืองจ.เชียงใหม่๕๐๑๐๐ 

โทรศัพท์: ๐๕๓-๒๑๒๗๕๗ โทรสำร : ๐๕๓ – ๒๑๒ ๗๕๘ โทรศัพท์เคลื่อนที่ : ๐๘๑-๙๘๐-๑๖๕๒  www.rakdek.org, E-mail: tlsdfrd2021@gmail.com

Share this content