๑
ผลการดา เนินงาน มูลนิธิรกัษ์เดก็ ในปีพ.ศ.๒๕๖๗
๑.โครงการ “สนับสนุนการรักษาโรคหัวใจแก่เด็กและครอบครัวที่อยู่ในภาวะยากล าบาก” (PFCP)
มูลนิธิรักษ์เด็กได้รับงบประมาณต่อเนื่ องให้ด าเนินงาน จาก Edwards Lifesciences Foundation ผ่านองค์กรจัดการโครงการชื่อ CAF America และบริษัท Daiichi Sankyo Limited Thailand จ านวน ๗๒๐,๐๐๐ บาท โดยปี พ.ศ. ๒๕๖๗ มีผู้ป่ วยโรคหัวใจได้รับการผ่าตัดแล้ว จ านวน ๓๑ ราย (ผู้ใหญ่ ๒๘ ราย เด็ก ๓ ราย) ออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่เพื่อบริการคดักรองโรคหวัใจ จา นวน ๔ ค รั้ง มีผู้เ ข้ารับ บ ริก าร ต รว จ คั ด ก ร อ งโ ร ค หั ว ใ จ จ า น ว น ๓ ๗ ๒ ค น และได้จัดกิจกรรมรณรงคเ์ผยแพร่ความร้แู ก่ญาติผ้ปู่วยและประชาชนทวั่ ไปจา นวน ๑,๓๒๘ ราย
๒.โครงการ “เสริมพลงัแก่กลุ่มผู้หญิงพึ่งตนเองเพื่อส่งเสริมสุขภาพและการพฒั นาแก่ลูกหลาน” (MWEC) เป็ นการดา เนินงานปี ที่สามของโครงการเต็มรูประยะเวลา ๕ ปี ระหว่างปี พ.ศ.๒๕๖๕ ถึง พ.ศ.๒๕๖๙ มูลนิธิ รกั ษ์เด็กได้ด าเนินงานในพื้นที่อ าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ๓ ต าบลได้แก่ ต าบลหนองหาร ต าบลแม่แฝกใหม่และต าบลป่ าไผ่ โดยรับงบประมาณสนับสนุนจาก Kindernothilfe (KNH) จ านวน ๑,๙๘๓,๑๓๐.๘๖ บาท ผลการดา เนินงานมีดงันี้คือ
๑.มีการจดัตงั้กลุ่มผ้หู ญิงพึ่งตนเอง จา นวน ๒๔ กลุ่ม มีสมาชิกของกลุ่มรวมกนั ทงั้สิ้นจา นวน ๒ ๔ ๑ ค น มีเ ด็ก ลูก ห ล า น ข อ ง ส ม า ชิก ก ลุ่ ม ร ว ม ทั้ง สิ้น จ า น ว น ๒ ๘ ๒ ค น มีก าร อ อ ม เงิน ข อ ง ทุก ก ลุ่ม เ ป็น ป ระ จ า แ ล ะ มีย อ ด เงิน ก อ ง ทุน เ พิ่ม ขึ้น ส ม ่าเ ส ม อ กลุ่มผ้หู ญิงพึ่งตนเองจา นวนหกกลุ่มมีการตั้งเป้าหมายของกลุ่มให้มีแผนการใช้เงินกองทุนไปลงทุน ท าธุรกิจของกลุ่ม ได้แก่ ธุรกิจการขายของช า การผลิตน ้ายาล้างจาน น ้ายาปรับผ้านุ่ม ผ ลิ ต น ้ า พ ริ ก คั่ ว ท ร า ย ข อ ง ไ ท ใ ห ญ่ ข า ย ถั่ ว เ น่ า แ ผ่ น ซึ่งมีผลก าไรที่ได้จากธุรกิจของกลุ่มมาจัดสรรคืนให้แก่สมาชิกและน าไปใช้จ่ายในครอบครัว รวมถึงสมทบกิจกรรมส าหรับพัฒ น าลู กหล า น เช่น กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติเป็นต้น มี ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก เ งิ น ก อ ง ทุ น ด้ว ย ก า ร กู้ยืม เ งิน น า ไ ป จัด ซื้อ อุป ก ร ณ์ก า ร เ รี ย น เ พื่ อ ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ลู ก เป็นค่ารักษาพยาบาลและเป็นค่าใช้จ่ายในการดา เนินการต่อใบอนุญาตทา งานเพื่อให้มีงานท าสร้างร ายได้ให้แก่ตนเองและครอบครัว
๒.สนับสนุนให้สมาชิกกลุ่มผ้หู ญิงพึ่งตนเองรวมตวักนั จดัตงั้เป็นเครือข่ายผ้หู ญิงพึ่งตนเองระ ดับชุมชน (Community self-help groups cluster (CLA) ได้จ านวน ๒ เครือข่ายซึ่งเครือข่ายที่ ๑ มีศูนย์กลางอยู่ที่พื้นที่ต าบลหนองหาร มีกลุ่มสมาชิกจ านวน ๔ กลุ่ม และเครือข่ายที่ ๒
๒
มี ศู น ย์ ก ล า ง อ ยู่ ที่ พื้ น ที่ ต า บ ล แ ม่ แ ฝ ก ใ ห ม่ มี ก ลุ่ ม ส ม า ชิก จ า น ว น ๔ ก ลุ่ ม ทั้งนี้เพื่อรวมพลังเข้าไปมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคมที่เป็นปัญหาและความต้องการ ของ พี่น้อ ง แ ร ง ง า น ข้า ม ช า ติ โ ด ย เ ฉ พ า ะ ก า ร พัฒ น า ลูก ห ล า น ข อ ง ต น เ อ ง ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านสงัคม เศรษฐกิจและด้านการเมือง
๓.งานด้านการส่งเสริมพฒั นาเครือข่ายแกนน าเยาวชนบุตรหลานคนงานข้ามชาติ(เครือข่าย Migrant Youth Leaders) โครงการได้จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนน าเยาวชน จ านวน ๗๗ คน ประกอบด้วยแกนน าเยาวชน จาก ๓ โรงเรียนพันธมิตร ได้แก่ โรงเรียนบ้านเจดีย์แม่ครัว โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ม่ โ จ้ แ ล ะ โ ร ง เ รี ย น วั ด แ ม่ แ ก้ ด น้ อ ย จ า น ว น ๕ ๗ คนรวมถึงแกนน าเยาวชนที่เป็ นลูกหลานคนงานข้ามชาติในชุมชนของกลุ่มผ้หู ญิงพึ่งตนเองจ านวน ๒ ๐ ค น ก า ร จั ด อ บ ร ม เ น้ น ก ร ะ บ ว น ก า ร พัฒ น า ทัก ษ ะ ชีวิต บทบาทการเป็ นผู้น าและสนับสนุนการจดัตงั้เครือข่ายเยาวชนลูกหลานคนงานข้ามชาติจากระดับต า บลสู่ระดับอ าเภอ เพื่อท าหน้ าที่เผยแพร่ความรู้ที่ได้รับถ่ายทอดให้แก่เพื่อนๆ พี่ๆน้ องๆ ใ น โ ร ง เ รี ย น แ ล ะ ชุ ม ช น ข อ ง ต น เ อ ง ซึ่งในการนี้แกนน าเยาวชนได้ด าเนินการจัดกิจกรรมที่ริเริ่มด้วยตนเอง ๓ โครงการ สามารถจัดกิจกรรมที่มีผ้เูข้าร่วมรบัร้แู ละรบั ข้อมูลครอบคลุมเดก็ จ านวนกว่า ๑๐,๕๐๐ คน
๓. โครงการเสริมพลังและความเข้มแข็งแก่เครือข่ายเยาวชนชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมือง และเครือข่ายองค์กรภาคประชาสงัคมด้านสิทธิเดก็ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย (EE-CR) เป็นการด าเนินงานปีที่สี่ซึ่งเป็นปีสุดท้ายของการของโครงการ ตั้งแต่เดือนมกราคม ถึง เดือนธันวาคม ๒๕๖๗ ไ ด้ รั บ ง บ ป ร ะ ม า ณ ส นั บ ส นุ น จ า ก Diakonia Thailand จ า น ว น ๗ ๐ ๕ ,๖ ๖ ๗ บ า ท ทั้งนี้มูลนิธิรักษ์เด็กได้ด าเนินงานในฐานะที่ท าหน้าที่เป็ นกองเลขานุการเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา ได้เติมเต็มและต่อยอดการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนาอย่างต่อเ นื่ อง เกิดการรวมตัวขององค์กรภาคประชาสังคมที่เน้นการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเด็ก ร่ ว ม กั น ร ณ ร ง ค์ แ ล ะ ผ ลั ก ดั น เ ชิ ง น โ ย บ า ย อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง ทั้ ง สี่ ปี
ปั จ จุ บั น มีจ า น ว น อ ง ค์ ก รส ม า ชิ ก เ ค รื อ ข่ า ย สิ ท ธิ เ ด็ ก ล้ า น น า จ า น ว น ๑ ๘ อ ง ค์ ก ร มีหน่วยงานภาครัฐเป็นที่ปรึกษาเครือข่าย จ านวน ๗ องค์กร และกลุ่มเครือข่ายเด็กและเยาวชนจ านวน ๒๒ ก ลุ่ ม ร ว ม เ ป็ น จ า น ว น ทั้ ง สิ้ น ๔ ๗ อ ง ค์ ก ร / ก ลุ่ ม เครือข่ายสิทธิเด็กล้านนาได้ร่วมงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บ้านพักเด็กและครอบครัว และส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สร้างเสริมความเข้มแข็งแก่กลไกคุ้มครองเด็กในท้องถิ่น และเพิ่มการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนให้ใช้เวทีสภาเด็กและเยาวชนระดับต าบลจ านวน ๑๐ ต าบล ๘ อ าเภอใน ๔ จังหวัด ร่วมจัดงานมหกรรมสิทธิเด็กล้านนา “เด็กและสตรี ส่งเสียง : “ยุติความรุนแรง ขอพื้นที่ปลอดภัย” (Lanna CRC Festival : Child-Friendly Space to End Violence against Children and Women) เนื่องในโอกาสวันเด็กโลก เพื่อน าเสนอแถลงการณ์ความห่วงกังวลต่อสถานการณ์สิทธิเด็ก
๓
จัด กิ จ ก ร ร ม ร ณ ร ง ค์ แ ก่ ส า ธ า ร ณ ช น แ ล ะ ยื่ น ข้ อ เ ส น อ แ น ะ แ ก่ ห น่ ว ย ง า น ก ร ร ม า ธิ ก า ร ฯ ผู้มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเด็ก จ านวน ๔ ครั้ง
สนับสนุนให้เกิดเครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรรมเพื่อสิทธิเด็ก มีการรวมตัวของแกนน าเยาวชน จ านวน ๒๒ กลุ่ม ในชื่อเครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก ที่มีส่วนร่วม รู้เท่าทัน พัฒนาทักษะและร่วมรณรงค์ เรียกร้องสิทธิอันพึงมีพึงของตนเองร่วมกับเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา
▪ เ ค รื อ ข่ า ย เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น ต้ น ก ล้ า ช น เ ผ่ า พื้ น เ มื อ ง ก ลั บ ม า เ ข้ ม แ ข็ ง คืนพลังและร่วมรณรงค์ผลักดันสิทธิชนเผ่าพื้นเมืองกับสภาชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย ▪ เครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรรมเพื่อสิทธิเด็ก ริเริ่ม ด าเนินกิจกรรม โครงการณรงค์จ านวน ๒๓ โครงการ ในโรงเรียนและชุมชนของตนเองครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายกว่า ๘๐,๐๐๐ คน ▪ เครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรรมเพื่อสิทธิเด็ก ร่วมกิจกรรมรณรงค์ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเด็ก ในท้องถิ่น ทั้งระดับต าบล อ าเภอและจังหวัดมากกว่า ๓๐ ครั้ง
▪ แกนน าเยาวชน ของเครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรรมเพื่อสิทธิเด็ก เข้าร่วมเวที แสดงความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะในมุมมองของเด็กและเยาวชน ทั้งระดับชาติและนานาชาติ มากกว่า ๓๐ เวที
น อ ก จ า ก นี้ ใ น ปี ๒ ๕ ๖ ๗ เ ค รือ ข่ า ย สิท ธิเ ด็ก ล้า น น า ( LCRC) จึงได้ขับเคลื่อนประเด็นสิทธิเด็กเพื่อให้เด็กและเยาวชนมีชีวิตที่ดีขึ้น ๕ ประ เด็น คื อ ๑.ประเด็นสิทธิเด็กที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครองจากความรุนแรงทุกประเภท *การลงโทษเด็กทางกาย * * ค ว า ม รุ น แ ร ง จ า ก ก า ร เ ลื อ ก ป ฏิ บัติ ต่ อ ก ลุ่ ม ผู้ มีค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง เ พ ศ (LGBTQI+) ***ความรุนแรงต่อสตรีในครอบครัวและชุมชน๒.ประเด็นสิทธิวัยรุ่นกับปัญหาอนามัยเจริญพันธ์ โรคติดต่อและการคุกคามทางเพศ ๓.ประเด็น รู้เท่าทันและขจัดความรุนแรงจากภัยออนไลน์ ร ว ม ถึ ง ก า ร แ ส ว ง ห า ป ร ะ โ ย ช น์ ท า ง เ พ ศ จ า ก เ ด็ ก แ ล ะ ส ต รี แ ล ะ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ ๔.ประเด็นสิทธิเด็กที่จะมีชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่มีสุขภาวะโดยเน้นที่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ๕.ประเด็นประเด็นสิทธิเด็กลูกหลานคนงานข้ามชาติและเด็กไร้รัฐไร้สัญชาติที่ต้องได้รับการพัฒนาสถานะบุค
คล เข้าถึงการโอกาสทางการศึกษา การดูแลสุขภาพและการรักษาพยาบาล
อีกหนึ่งความส าเร็จในการเปิดพื้นที่สร้างสรรค์และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของเด็กในฐานะกองเลขา นุการเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนาและองค์กรสมาชิกได้ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคม ๒๕๖๗ เครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา ประสบความส าเร็จในการจัดมหกรรมเมหกรรม เด็กและสตรีส่งเสียง : “ยุติความรุนแรง ขอพื้นที่ปลอดภัย” Lanna CRC Festival #๔: เนื่ องในโอกาสครบรอบ ๓๔ ปีก า ร ล ง สัต ย า บัน รับ อ นุ สัญ ญ า ว่ า ด้ว ย สิท ธิเ ด็ก ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย โดยถือเป็นกิจกรรมที่องค์กรสมาชิกเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา ได้บูรณาการงบประมาณ ทรัพยากรบุคคล การจัดงานครั้งนี้ มี ๓ รูปแบบ ประกอบด้วย เวทีส าคัญคือ
๑. เสวนาโต๊ะกลม : เวทีเสวนาเพื่อสร้างความมุ่งมั่น และผลักดันข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ณ ห้องประชุมแกรนด์บอลลูนโรงแรมดวงตะวัน จังหวัดเชียงใหม่
๔
๒. การเดินรณรงค์จากพุทธสถาน ไปยังลานกิจกรรมประตูท่าแพ และ
๓ .เ ว ที ร ณ ร ง ค์ ส า ธ า ร ณ ะ ณ บ ริ เ ว ณ ข่ ว ง ป ร ะ ตู ท่ า แ พ จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ใ ห ม่ โดย มีก ารอ่ านแ ถ ล ง ก ารณ์ ข้อ เ ส นอ แ นะจาก เ ด็ก แ ล ะเยาว ชนใ น ๕ ประเ ด็นที่ขับ เ ค ลื่ อน ใ น ง า น นี้มี อ ง ค์ ก ร เ ข้ า ร่ ว ม ทั้ง ห ม ด ๓ ๑ อ ง ค์ ก ร ผู้ เ ข้ า ร่ ว ม ง า น ทั้ง ห ม ด ๔ ๒ ๐ ค น โดยเป็นตัวแทนจากองค์กรสมาชิกเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา และประชาชนทั่วไปที่ให้ความสนใจ รวมไปถึงผู้ชมที่เข้าถึงการถ่ายทอดสด ประมาณจ านวน ๒,๐๐๐ คน มีการเผยแพร่สู่เพจสาธารณะอื่นๆ จ านวนกว่า ๕,๐๐๐คน
๔. โครงการเสริมสร้างความเข้มแขง็และเสริมพลงัแก่เครือข่ายสิทธิเดก็ล้านนาเพื่อการขบัเคลื่อน ผลกัดนั ส่งเสริม และ ค้มุ ครองสิทธิเดก็ (SE-LCRC)
โครงการนี้มีส่วนสนับสนุนการดา เนินงานของเครือข่ายสิทธิเดก็ล้านนา ตั้งแต่เดือนมกราคม ถึง เดือน กันยายน ๒๕๖๖ โดยการสนับสนุนงบประมาณจาก Kinder not hilfe (KNH) จ านวน ๕๔๐,๐๐๐ บาท และได้มีการปรับปรุงแผนงานและวงงบประมาณ ขยายเวลาด าเนิงานต่อจากเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๖ ถึ ง เ ดื อ น ธั น ว า ค ม ๒ ๕ ๖ ๗ เ ป็ น จ า น ว น ง บ ป ร ะ ม า ณ ร ว ม ทั้ง สิ้ น ๙๗๓ ,๓ ๘ ๐ บ า ท โ ค ร ง ก า ร ไ ด้ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ง า น ข อ ง ก อ ง เ ล ข า นุ ก า ร เ อื้ อ ใ ห้ เ กิ ด เ ว ที ก า ร ป ร ะ ชุ ม สั ม ม น า กั บ อ ง ค์ ส ม า ชิ ก อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง
เกิดการสัมมนาและอภิปรายความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นสถานการณ์ปัญหาของเด็กและเยาวชนในภาคเหนื อ ต อ น บ น ต า ม สิ ท ธิ ที่ พ ว ก เ ข า พึ ง มี พึ ง ไ ด้ และมีความเห็นพร้องกันว่าจะเน้นขับเคลื่อนประเด็นสิทธิเด็กเพื่อให้เด็กและเยาวชนมีชีวิตที่ดีขึ้น ๔ ป ร ะ เ ด็ น คื อ ๑ ) ประเด็นสิทธิเด็กที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครองจากความรุนแรงทุกประเภทและทุกสถานที่ทั้งในบ้าน โรงเรียน ชุมชน สถานสงเคราะห์และในโลกออนไลน์ ๒) ประเด็นสิทธิเด็กที่ต้องได้รับการพัฒนาสถานะบุคคล เ ข้ า ถึ ง ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ แ ล ะ ก า ร รั ก ษ า พ ย า บ า ล ๓ ) ประเด็นสิทธิเด็กที่จะมีชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่มีสุขภาวะโดยเน้นที่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ๔) ประเด็นสิทธิเด็กที่จะเข้าถึงการศึกษา การส่งเสริมทักษะวิชาอาชีพที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน รวมถึงได้เรียนรู้วิถีชีวิต วัฒนธรรมและภูมิปัญญาชาติพันธุ์ของตนเอง ท าให้เกิดการบูรณาการแผนงาน งบประมาณ ทรัพยากรระหว่างองค์กรสมาชิก โดยเฉพาะการร่วมกันขับเคลื่อนงานรณรงค์ผลักดันสิทธิเด็ก๔ ประเด็น ในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนธันวาคม ๒๕๖๗ ตั้งแต่ระดับท้องถิ่น อ าเภอ จังหวัด ประเทศ และระดับสากล อาทิเช่น ร่วมจัดงานรณรงค์ขจัดความรุนแรงด้วยเหตุแห่งเพศสภาพ (Gender-based violence’s) ใ น ห้ ว ง เ ว ล า แ ห่ ง ก า ร ร ณ ร ง ค์ Orange Days Activism โดยจัดกิจกรรมรณรงค์แก่สาธารณะระหว่างกิจกรรมเดิน-วิ่ง ข้ามโขง ณ อ าเภอเชียงของ
๕
จังหวัดเชียงราย และการสื่อสารผ่านช่องทางออนไลน์ ระหว่างวันที่ ๒๕ พ.ย. ถึง ๑๐ ธันวาคม ซึ่งได้ดา เนินงานต่อเนื่องมาถึง ๓ ปีติดต่อกนั (๒๕๖๕-๒๕๖๗)
จุดเด่นของความส าเร็จ คือ การจดั กิจกรรม Chiang Mai Pride ๒๗๒๔ จัดวันที่ ๒๕- ๒๖ พ.ค.๒๕๖๗ ณ ลานกิจกรรมประตูท่าแพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ มีแกนน าเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก ( CRYA) มี ส่ ว น ร่ ว ม ก า ร เ ฉ ลิ ม ฉ ล อ ง ค ว า ม เ ท่ า เ ที ย ม ท า ง เ พ ศ ในเดือนแห่งการรณงค์ความเท่าเทียมบนความหลากหลายทางเพศและได้เป็นตัวแทนเด็กและเยาวชน ในนามของเครือข่าย CRYA / LCRC ขึ้นพูดบนเวทีเพื่อประกาศเจตนารมย์ จ านวน ๒ คน เ กี่ ย ว กั บ สิ ท ธิ เ ด็ ก ผู้ มี ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง เ พ ศ “ โ ด ย ต้ อ ง ก า ร ใ ห้ ห น่ ว ย ง า น ภ า ค รั ฐ และเอกสารสนับสนุ นและเปิ ดพื้นที่สร้างสรรค์ พื้นที่ปลอดภัยส าหรับเด็กและเยาวชนกลุ่ม ผู้ มี ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง เ พ ศ ใ ห้ มี โ อ ก า ส แ ส ด ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ส่งเสริมให้มีสัดส่วนตัวแทนของเด็กและเยาวชนผู้มีความหลากหลายทางเพศ ให้มีบทบาทในชุมชนทุกระดับ มีส่ ว น ร่ ว ม แ ส ด ง ค ว า ม คิด เ ห็ น แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ กี่ ย ว กั บ ปั ญ ห า แ ล ะ ผ ล ก ร ะ ท บ ที่ เ ด็ ก ไ ด้ รับ มีการเยียวยาทางด้านจิตใจเพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่เด็กและเยาวชน ร่วมกับเพื่อนๆ และคนอื่นๆ อย่างมีความสุข รวมถึงได้รับการยอมรับจากคนในสังคมเพราะเราเท่าเทียมกัน ไม่เลือกปฏิบัติ ค านึงถึงประโยชน์ สูงสุดของเด็ก ตามหลักการ ของอนุ สัญญาว่าด้วย สิทธิเด็ก นอกจากนี้ แกนน าเยาวชนยังมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกฎหมายรับรองเพศสภาพภาคประชาชนและร่วมจัด บูทนิทรรศการเผยแพร่ข้อมูลและเกมส์เกี่ยวกับการยุติความรุนแรงต่อเด็กผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ แ ล ะ ข้ อ ค ว า ม ร่ ว ม ร ณ ง ค์ ร ว ม พ ลั ง ใ น ป ร ะ เ ด็น สิ ท ธิ เ ด็ ก กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม พร้อมกับการเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะเช่น มีการให้สัมภาษณ์ผ่านสื่อช่องทางหลักหลายสถานี มีการไลฟ์สด คาดว่ามีผู้เข้าชม รับรู้รับทราบไป ทั่วประเทศ ท าให้เครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก เ ป็ น ที่ รู้ จั ก แ ล ะ รั บ รู้ ใ น ว ง ก ว้ า ง ได้รับการติดต่อประสานงานจากหน่วยงานองค์กรที่ขับเคลื่อนประเด็นความหลากหลายทางเพศในระดับจังห
วั ด เ ข้ า ร่ ว ม เ ว ที เ ส ว น า ต่ า ง ๆ เ พิ่ ม ขึ้ น น้ อ ง ๆ เ ย า ว ช น มีความมนั่ ใจและกล้าแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเด็ก ระดับสาธารณะมากขึ้น มีผู้เข้าร่วมงาน ๕,๐๐๐ คน และมีผู้ชมผ่านระบบออนไลน์จ านวนประมาณ ๕๐,๐๐๐ คน
อี ก ห นึ่ ง ค ว า ม ส า เ ร็ จ ข อ ง เ ค รื อ ข่ า ย สิ ท ธิ เ ด็ ก ล้ า น น า คือเกิดค ณ ะ ท าง านสิทธิเด็กลูกหลานแรงงานข้ามชาติของเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา ซึ่งได้ด าเนินงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจ านวน ๑๕ องค์กร (หน่วยงานภาครัฐ ๑๐ องค์กร ห น่ ว ย ง า น ภ า ค ป ร ะ ช า สัง ค ม ๕ อ ง ค์ ก ร จ า น ว น ๑ ๘ ค น ) โดย ไ ด้ รับ ก า รแ ต่ ง ตั้งเ ป็ น
“ ค ณ ะ ท า ง า น คุ้ ม ค ร อ ง สิท ธิเ ด็ก ลูก ห ล า น แ รงงา น ข้า ม ช า ติจัง ห วัด เ ชีย ง ใ ห ม่ ภ า ย ใ ต้ ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง เ ด็ ก จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ใ ห ม่ ” ต าม ค าสั่ง แ ต่ ง ตั้ง จาก ผู้ว่ าราชก ารจัง ห วัด เชียง ใ ห ม่ ล ง นามเ มื่ อ วันที่ ๙ ตุ ล าค ม ๒ ๕ ๖ ๗ โดยมีท่านพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ ด ารงต าแหน่งประธานคณะท างาน และ
๖
นายเกรียงไกร ไชยเมืองดี ผู้อ านวยการมูลนิธิรักษ์เด็ก /ผู้แทนเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา ต ารงต าแหน่งรองประธานคณะท างาน
๕. โครงการ “ยืนหยัด ขจัดการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก”
(Step Up to Fight Against Sexual Exploitation on Children; SUFASEC)
มู ล นิ ธิ รั ก ษ์ เ ด็ ก ต่ อ ย อ ด ก า ร ด า เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร “ ยื น ห ยั ด ขจัดการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก” (Step Up to Fight Against Sexual Exploitation on Children; SUFASEC) ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และแม่ฮ่องสอน เป็นปีที่สองของโครงการ ตั้งแต่เดือนมีนาคม ๒๕๖๖ ถึง เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ได้รับการสนับสนุนจากเครือข่าย Down To Zero และเครือข่ายพันธมิตรเพื่อสิทธิเด็กเอเชีย (CRC Asia) น าการบริหารโครงการโดยองค์การแตแดซอม ประเ ทศ เ นเ ธ อ ร์แ ล นด์ ( terre des hommes Netherland) ไ ด้รับ ง บ ประมาณ ส นับ ส นุ น จ านว น ๓,๒๑๔,๘๖๐.๕๘ บาท จากการด าเนินงานในปีที่สอง โดยความร่วมมือจากโรงเรียนพันธมิตรทั้งหกแห่ง และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ าเภอ (พชอ.) ในพื้นที่เป้ าหมายของโครงการ ประสบความส าเร็จ คือ
๑.มีครูแกนน า จ านวน ๖๕ คน ที่ได้รับการอบรม เรื่องเพศวิถี การอนามัยเจริญพันธุ์ แ ล ะ ป้ อ ง กั น ก า ร แ ส ว ง ห า ป ร ะ โ ย ช น์ ท า ง เ พ ศ จ า ก เ ด็ ก และน าไปจัดการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนโดยบูรณาการในแผนการเรียนการสอน วิชาสุขศึกษา วิชาชุมนุม และ Home room
๒.มีผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็ก จ านวน ๗๕๗ คน ได้รับการอบรมเรื่องการเลี้ยงลูกเชิงบวก เ พื่ อ ส ร้ า ง ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก ต่ อ ก า ร ป้ อ ง กั น ก า ร แ ส ว ง ห า ป ร ะ โ ย ช น์ ท า ง เ พ ศ จ า ก เ ด็ ก และเกิดแกนน าผู้ปกครองที่คอยเฝ้าระวังและส่งต่อเคส ในกรณีเกิดเหตุในชุมชน จ านวน ๒๑ คน
๓ .เ กิด ก า ร จัด ตั้ง ค ณ ะ ท า ง า น พัฒ น า คุณ ภ า พ ชีวิต ร ะ ดับ อ า เ ภ อ โดยมีค าสั ่งแต่งตั้งจากนายอ าเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน และนายอ าเภอเชียงของ จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ร า ย พร้อมทั้งมีแผนการขับเคลื่อนงานป้องกันการเสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็กร่วมกันอย่างอย่างเป็นรูปธรร ม และ
๔. เกิดกลุ่มแกนน าเด็กและเยาวชนต่อต้านการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก ( SUFASEC Youth Council) ซึ่ ง มี ส ม า ชิ ก จ า ก พื้ น ที่ ๓ จั ง ห วั ด จ า น ว น ๒ ๓ ค น ที่ ร่ ว ม ขั บ เ ค ลื่ อ น ง า น ร ณ ร ง ค์ ใ น ป ร ะ เ ด็ น ก า ร อ น า มั ย เ จ ริ ญ พั น ธุ์ ภั ย อ อ น ไ ล น์
๗
และป้องกันการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก ในเวทีต่างๆที่จัดขึ้นในระดับอ าเภอและระดับชาติ เช่น ง า น ง า น ม ห ก ร ร ม สิ ท ธิ เ ด็ ก ล้ า น น า ง า น วั น ยุ ติ ค ว า ม รุ น แ ร ง ต่ อ เ ด็ ก แ ล ะ ส ต รี งานมหกรรมเดินวิ่งข้ามโขงยุติความรุนแรงด้วยเหตุแห่งเพศ งานวันส่งเสริมอินเทอร์เน็ตปลอดภัยแห่งชาติ ปี ๒๕๖๘ เป็ นต้น และมีแกนน านักเรียนในโรงเรียนพันธมิตรทั้ง ๖ แห่ง จ านวน ๙๒๙ คน ที่ผ่านการอบรมพัฒนาศักยภาพ ได้จัดท าโครงการริเริ่มโดยกลุ่มเด็ก ผ่านกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน ใ น ป ร ะ เ ด็ น ก า ร ป้ อ ง กั น ก า ร ตั้ ง ค ร ร ภ์ ใ น วั ย รุ่ น ก า ร ป้ อ ง กั น ภั ย อ อ น ไ ล น์
และป้องกันการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก โดยมีนักเรียนได้รับความรู้จากการเข้ากิจกรรมดังกล่าว จ านวน ๔๐๐ คน
๖ . โครงการเสริมสร้างองคก์ รภาคประชาสงัคมและผ้มู ีบทบาทในระดบัท้องถิ่นเพื่อการผลกัดนัเชิงนโยบ าย (Building Organisations & Local actors Dialogue (for) – Policy ; B.O.L.D)
มู ล นิ ธิ รั ก ษ์ เ ด็ ก เ ริ่ ม ด า เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ใ ห ม่ คื อ โครงการเสริมสร้างองคก์ รภาคประชาสงัคมและผ้มู ีบทบาทในระดบัท้องถิ่นเพื่อการผลกัดนัเชิงนโยบ าย (Building Organisations & Local actors Dialogue (for) – Policy ; B.O.L.D. – Policy) ในพื้นที่ ๑๑ ต าบล ๗ อ าเภอ ๓ จังหวัด ซึ่งต่อยอดการท างานในพื้นที่ที่มูลนิธิรักษ์เด็กเคยด าเนินงานโครงการด้านสิทธิเด็ก คือ อ าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ อ าเภอปาย อ าเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน อ าเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย และขยายพื้นที่การท างานใหม่ไปที่อ าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ อ าเภอเทิง อ าเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย มีระยะเวลาการด าเนินงาน ๔ ปี ตั้งแต่เดือน มกราคม ๒๕๖๗ ถึง เดือนธันวาคม ๒๕๗๐ โดยมูลนิธิรักษ์เด็กด าเนินงานโครงการร่วมกับ มูลนิธิศูนย์เพื่อน้องหญิง บ ริห า ร โ ค ร ง ก า ร โ ด ย อ ง ค์ก า ร ไ ด อ ะ โ ก เ นี ย ส า นั ก ง า น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ( Diakonia Thailand) ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสหภาพยุโรป (The European Union – EU) และในปี พ.ศ. ๒๕๖๗ ได้รับงบประมาณจ านวน ๑,๙๐๕,๗๙๕.๖๓ บาท
ทั้ง นี้ โ ค ร ง ก า ร มุ่ ง เ น้ น ก า ร ท า ง า น ร่ ว ม กั บ เ ค รือ ข่า ย สิท ธิเ ด็ก ล้า น น า (LCRC) เครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเดก็ (CRYA) และองค์กรชุมชนที่ท างานด้านเด็กและเยาวชน โดยการสนับสนุนของหน่วยงานภาครัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เป้าหมายของโครงการ และได้มีการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับหน่วยงานท้องถิ่นในพื้นที่ทั้ง ๑๑ ต าบล อีกทั้งได้เชื่อมงานกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ าเภอในพื้นที่อ าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ แ ล ะ อ า เ ภ อ เ ชี ย ง ข อ ง จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ร า ย มีแกนน าเด็กและเยาวชนเข้าร่วมโครงการและผ่านการอบรมเสริมสร้างทักษะความรู้เรื่องสิทธิเด็ก ภ า ว ะ ผู้ น า เ พื่ อ สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร ท า ง า น เ ป็ น ที ม จ า น ว น ๒ ๗ ๑ ค น
๘
อีกทั้งโครงการได้จัดท ารายงานการศึกษาสถานการณ์สิทธิเด็ก (Child Rights Situational Analysis : CRSA) ในพื้นที่เป้ าหมายของโครงการ ซึ่งได้มีการจัดเก็บข้อมูลกับกลุ่มเด็กและเยาวชน (ผู้มีสิทธิ) ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบ (ครู พ่อแม่ผู้ปกครอง อาสาสมัครชุมชน องค์กรภาคประชาสังคม ผู้ที่ใกล้ชิดกับเด็ก) และผู้มีหน้าที่ให้สิทธิ (นายก อบต./ทต. ผู้บริหารโรงเรียน ผู้น าชุมชน) จ านวน ๒๒๓ คน ส าหรับน าข้อมูลไปวางแผนการด าเนินงานร่วมกับแกนน าเยาวชนในปี ๒๕๖๘ – ๒๕๗๐ ต่อไป
การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการรณรงคผ์ลกัดนั และการเขา้ร่วมงานเวที ต่างๆ แก่เดก็และเยาวชนซึ่งเป็นแกนน าเครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเดก็ ในปี ๒๕๖๗
ทงั้ในรปู แบบพบหน้าและผ่านช่องทางออนไลน์
ใ น ปี ๒ ๕ ๖ ๗ ตัว แ ท น จ า ก เ ค รือ ข่า ย เ ย าว ช น นัก กิจ ก รร ม เ พื่อ สิท ธิเ ด็ก CRYAได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมรณรงค์ผลักดันและกิจกรรมวันส าคัญต่าง ๆ กว่า 12 กิจกรรมที่เกิดขึ้นดงันี้
1. ตัว แ ท น เ ค รือ ข่า ย เ ย าว ช น นัก กิจ ก รร ม เ พื่อ สิท ธิเ ด็ก ไ ด้ ร่ ว ม แ ถ ล ง ก า ร ณ์ และจัดนิทรรศการให้ความรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์ และการป้ องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ในงานเทศกาลเยาวชน Youth Festival จัดงานโดยมูลนิธิรักษ์ไทย ณ ลานประตูท่าแพ จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 1 7 กุ ม ภ า พั น ธ์ 2 5 6 7 โ ด ย ใ น ง า น ไ ด้ มี ก า ร ท ด ล อ ง ใ ช้
บอร์ดเกมเกี่ยวกับเรื่องอนามัยเจริญพันธุ์และเรื่องเพศปลอดภัยพร้อมจัดนิทรรศการให้ความรู้ และร่วมแถลงการณ์ในงานดังกล่าว
2.ตัวแทนเครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเดก็พร้อมเครือข่ายเยาวชนในพื้นที่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ และ อ.เชียงของ จ.เชียงราย เข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านทักษะชีวิตศึกษาเรื่องเพศวิถี อ น า มั ย ก า ร เ จ ริ ญ พั น ธุ์ แ ล ะ ป้ อ ง กั น ก า ร แ ส ว ง ห า ป ร ะ โ ย ช น์ ท า ง เ พ ศ จ า ก เ ด็ ก โ ด ย เ ฉ พ า ะ ผ่ า น ช่ อ ง ท า ง ก า ร สื่ อ ส า ร อ อ น ไ ล น์ ภ า ย ใ ต้โ ค ร ง ก า ร ” ยื น ห ยั ด ขจัดการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก” (SUFASEC) ณ โรงแรมฮอลิเดย์การ์เด้นท์ ระหว่างวันที่ 24 -25 กุมภาพันธ์ 2567 ด าเนินการโดย มูลนิธิรักษ์เด็ก และ CRC Asia สนับสนุนโดย Down To Zero (D2Z); Terre des hommes Netherlands แ ล ะ ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ป ร ะ เ ท ศ เ น เ ธ อ ร์ แ ล น ด์
โดยแกนน าเยาวชนได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และวางแผนในการที่จะน ากิจกรรมไปเผยแพร่ต่อไป
3 . ตัว แ ท น แ ก น น า เ ค รือ ข่ า ย เ ย า ว ช น นั ก กิจ ก ร ร ม เ พื่ อ สิทธิเ ด็ก แ ล ะ มู ล นิ ธิรัก ษ์ เ ด็ก ใ น น า ม ก อ ง เ ล ข า นุ ก า ร เ ค รือ ข่ า ย สิท ธิ เ ด็ ก ล้ า น น า อ ง ค์ ก ร ส ม า ชิ ก ข อ ง เ ค รือ ข่ า ย ฯ คือ
๙
มู ล นิ ธิศุ ภ นิ มิต แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มู ล นิ ธิรัก ษ์ ไ ท ย แ ล ะ ส ภ า นั ก เ รีย น โ ร ง เ รีย น สัน ก า แ พ ง เ ป็ น ส่ว น ห นึ่ ง ใ น ก า รร่ ว ม พ ลัง ร่ ว ม ใ จ จับ มื อ กับ ส ภ า เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น อ า เ ภ อ อ ม ก๋ อ ย และภาคีเครือข่ายในองค์กรท้องถิ่นอา เภออมก๋อย จงัหวดัเชียงใหม่ จดังาน “อมก๋อยเฟส #3 ดนตรี กวีศิลป์” (OmKoi FEST #3)” ณ ลานที่ว่าการอ าเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างวันที่ 30-31 มีนาคม 2567 มีการประกวดแข่งขันวงดนตรี การประกวดวาดภาพใน 2 หัวข้อ ได้แก่ 1.“สิทธิเด็กกับสิ่งแวดล้อม เน้นการป้ องกัน ไฟป่ าและลดปั ญหาหมวกควัน” 2. “ ร ว ม พ ลั ง ป ก ป้ อ ง เ ด็ ก จ า ก ค ว า ม รุ น แ ร ง ทุ ก รู ป แ บ บ ” กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ทั ก ษ ะ ก า ร ป ก ป้ อ ง ต น เ อ ง แ ก่ เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น ที่ ม า ร่ ว ม ง า น โดยจัดท าซุ้มนิทรรศการส าหรับเผยแพร่ความรู้และสื่อในเรื่องประเด็นเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสิทธิเด็ก มีกิจกรรมบอร์ดเกมการเรียนรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ บอร์ดเกมการเดินทางของหัวใจ เรียนรู้เข้าใจ ปลอดภัย ยุติการรังแก รู้เท่าทันภัยออนไลน์ ทั้งนี้มีนางสาวพรเจริญ เสริมมติวงศ์ เ ป็น ตัว แ ท น เ ค รือ ข่ า ย เ ย า ว ช น นัก กิจ ก ร ร ม เ พื่ อ สิท ธิเ ด็ก ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเครือข่ายและได้เชิญชวนเด็กและเยาวชนอ าเภออมก๋อยร่วมรณรงค์ #รักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อการมีอากาศที่ดีส าหรับเด็กและประชาชนอ าเภออมก๋อย
4 . ตั ว แ ท น ส ม า ชิ ก ก ลุ่ ม เ ย า ว ช น นั ก กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สิ ท ธิ เ ด็ ก จ า น ว น 10 คนได้เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ“วางแผนงานขบัเคลื่อนสิทธิเดก็เชิงประเดน็และการเสริมทกัษะ ใ น ก า ร ส ร้ า ง ก ร ะ บ ว น ก า ร Child Consultation แ ก่เ ค รือ ข่า ย สิท ธิเ ด็ก ล้า น น า” ณ โ ร ง แ ร ม เ ชี ย ง ใ ห ม่ แ ก ร น วิ ว อ . เ มื อ ง จ . เ ชี ย ง ใ ห ม่ เ มื่อ วัน ที่ 2 6-2 8 เ ม ษ า ย น 2 5 6 7 โ ด ย ใ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม ตั ว แ ท น เ ย า ว ช น นั ก กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สิ ท ธิ เ ด็ ก
ได้น าเสนอความก้าวหน้าการด าเนินงานเครือข่ายเยาวชน นักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็กล้านนา ( CRYA) ปี 2 5 6 6 แ ล ะ ไ ด้ เ รี ย น รู้ ก ร ะ บ ว น ก า ร ( Child Consultation Process) สามารถน ามาใช้ในการด าเนินงานส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเด็กอย่างมีความหมายร่วมกับขับเคลื่อนแผนงาน รณรงค์ประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
5.เครือข่ายเด็กและเยาวชนต้นกล้าชนเผ่าพื้นเมือง (TKN) ได้จัดงานสมัชชาเด็กและเยาวชนชน เผ่าพื้นเมือง TKN Festival เทศกาลมีดีครั้งที่ 4 ณ ศูนย์พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ล้านนา ต าบลแม่ปูคา อ าเภอ สันก าแพง จังหวัดเชียงใหม่เมื่อ วันที่ 4 – 7 พฤษภาคม 2567 โดยในงานมีสมาชิกเครือข่ายเด็กและเยาวชนต้นกล้าชนเผ่าพื้นเมือง รวมจ านวนทั้งสิ้น 170 ค น มีแ ก น น า เ ค รื อ ข่ า ย เ ย า ว ช น นั ก กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สิ ท ธิ เ ด็ ก เ ข้าร่ว มกิจก รร ม แ ล ะ ไ ด้รับ ก า รคัด เ ลือ ก ใ ห้เ ป็ นรอ ง ป ร ะธ า น 2 ค นแ ล ะเ ป็ นก ร ร มก าร 1 คนในคณะกรรมการเครือข่ายเด็กและเยาวชนต้นกล้าชนเผ่า พื้นเมือง ชุดใหม่ (ชุดที่ 5) ผ่ า น ก า ร รั บ ร อ ง จ า ก ส ม า ชิ ก ข อ ง เ ค รื อ ข่ า ย
๑๐
และในงานครั้งนี้เด็กและเยาวชนยังได้มีส่วนร่วมในการน าเสนอผลการด าเนินงานในแต่ละพื้นที่ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหาของเด็กและเยาวชนชนเผ่าพื้นเมืองด้วยกันเอง ทั้งประเด็นสิทธิเด็กกับสิ่งแวดล้อม ประเด็นความหลากหลายทางเพศบนพื้นฐานของความเป็นชาติพันธุ์ และ มีความเข้าใจถึงกลไกและบทบาทของสภาชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย และเข้าใจสาระส าคัญร่าง พ.ร.บ.สภาชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย พ.ศ…. ร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ พ . ศ . . . . แ ล ะ ร่ า ง พ . ร . บ . ฉ บั บ อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง และได้ร่วมระดมแนวทางการมีส่วนร่วมในการผลักดันกฎหมายร่วมกันร่วมวางแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนงานเ ค รื อ ข่ า ย ร่ ว ม กั น รวมถึงได้แนวทางความร่วมมือของภาคีองค์กรเครือข่ายที่ท างานด้านเด็กและเยาวชนชนเผ่าพื้นเมืองในการส นับสนุนงานแก่เครือข่ายเด็กและเยาวชนต้นกล้าชนเผ่าพื้นเมือง ในระยะต่อไป
6 . เ ค รื อ ข่ า ย เ ย า ว ช น นั ก กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สิ ท ธิ เ ด็ ก แ ล ะเ ค รื อ ข่ า ย สิ ท ธิ เ ด็ ก ล้ า น น า ร่วมเดินขบวนฉลองความ เท่าเทียม โบกธงสายร้งุ ปลิวสยายไสว ส่งสัญญาณสายลมแห่งเสรี ณ ป ร ะ ตู ท่ า แ พ จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ใ ห ม่ เ มื่ อ วั น ที่ 25-26 พ ฤ ษ ภ า ค ม 2567 โ ด ย ใ น ง า น นี้ ตั ว แ ท น เ ย า ว ช น นั ก กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สิ ท ธิ เ ด็ ก น า โ ด ย น้ อ ง ต้ น คู ณ และน้องแมทธิวได้เป็ นตัวแทนเด็กและเยาวชนขึ้นเวที ประกาศเจตนารมณ์ส่งสารถึงทุกคน ในเรื่องสิทธิเด็กผู้มีความหลากหลายทางเพศ พรบ.สมรสเท่าเทียมและกฏหมายที่เกี่ยวข้อง โ ด ย ยึด ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ สู ง สุ ด ข อ ง เ ด็ก เ ป็ น ห ลัก “ เ พ ศ เ ท่ า เ ที ย ม ค น เ ท่ า กัน” ซึ่งได้รับความสนใจจากผู้เข้าร่วมงานเป็นจ านวนมาก
7 . เ ค รื อ ข่ า ย เ ย า ว ช น นั ก กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สิ ท ธิ เ ด็ ก ได้รณรงค์เชิญชวนทุกคนมาช่วยกนัรกัษาโลกใบนี้ให้น่าอยู่เพื่อเด็กๆและมนุษย์ทุกคนในอนาคต ในช่วงเวลาแห่งวันสิ่งแวดล้อมโลก วันที่ 5 มิถุนายน 2567 ผ่านช่องทางออนไลน์ โดยเสนอ 4 วิ ธี ง่ า ย ๆ ใ น ก า ร ล ด ก า ร ใ ช้ พ ล า ส ติ ก เ พื่ อ ใ ห้ โ ล ก นี้ น่ า อ ยู่ ส า ห รั บ เ ด็ ก ๆ และมนุษย์ทุกคนในอนาคตต่อไปและในโอกาสนี้ทางสภานักเรียนโรงเรียนสันก าแพงซึ่งเป็นหนึ่งในสมาชิก ของเครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก CRYA ได้เชิญชวนทุกคน เข้าเรียนรู้หลักสูตร : การ จัดก ารข ย ะ อ ย่าง ถูกวิธี แ ล ะ การอนุรักษ์สิ่ง แ ว ดล้อม อ อนไ ลน์ Study At Home พร้อมทั้งรับเกียรติบัตรจากโรงเรียนสันก าแพงเมื่อจบหลักสูตร
8.เครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็กและกลุ่มเยาวชนต าบลนครเจดีย์ อ.ป่าซาง จ.ล าพูน จัดโครงการ DVC Digital Vaccine Cyberbullying สร้างภูมิคุ้มภัยออนไลน์ด้วยสื่อสร้างสรรค์ ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนต าบลนครเจดีย์ อ.ป่ าซาง จ.ล าพูน เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2567 “เพราะการกลั ่นแกล้งกันเป็ นบาดแผลที่บาดลึก” สนับสนุนงบประมาณโดย TKN สมาคม IMPECT สสส. อ บ ต . น ค ร เ จ ดี ย์ มู ล นิ ธิ รั ก ษ์ เ ด็ ก แ ล ะ เ ค รื อ ข่ า ย สิ ท ธิ เ ด็ ก ล้ า น น า
๑๑
มีแกนน าสภานักเรียนโรงเรียนป่าซางวชิรป่าซาง โรงเรียนธรรมสาธิตศึกษา สภาเด็กต าบล รวมจ านวน 70 คน วิทยากรจาก Seed Thailand และสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย ผู้ บ ริ ห า ร แ ล ะ ค ณ ะ ค รู โ ร ง เ รี ย น ธ ร ร ม ส า ธิ ต โ ร ง เ รี ย น ว ชิ ร ป่ า ซ า ง ช่ ว ย ป ร ะ ส า น ง า น แ ล ะ น้ อ ง ๆ เ ย า ว ช น มี ค ว า ม ตั้ ง ใ จ ใ น ก า ร ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม เกิดความตระหนักรู้ร่วมกันในช่วงเวลาของการณรงค์วันยุติการกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์สากล
9 . เ ค รื อ ข่ า ย เ ย า ว ช น นั ก กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สิ ท ธิ เ ด็ก ได้ร่วมรณรงค์ออนไลน์ในวันต่อต้านการค้ามนุษย์สากล “หยุดค้ามนุษย์ เพราะทุกคนเท่าเทียมกัน” 30 กรกฎาคม 2567 ผ่านช่างทางออนไลน์ต่างๆ
10.แกนน าเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก เข้าร่วมอบรมออนไลน์ปลอดภัย จัดโดย ECPACT ณ โ ร ง แ ร ม อ โ ม ร่ า ท่ า แ พ วั น ที่ 27-30 ตุ ล า ค ม 2567 โดยได้รับการอบรมทักษะรู้เท่าทันและการป้องกันภัยออนไลน์ใรรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้ เก่งชีวิต เก่งออนไลน์ ซึ่งตรงกับสถานการณ์ปัจจุบันของน้องๆ เยาวชน
11.เครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก ร่วมกับ เครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา “ร่วมเฉลิมฉลองและสร้างความตระหนักถึงสิทธิเด็กในวันเด็กสากล” (Universal Children’s Day) 20 พฤศจิกายน 2567 และงานมหกรรมสิทธิเด็กล้านนา ครั้งที่ 4 “พลังเด็ก พลังอนาคต” มหกรรม เด็กและสตรีส่งเสียง ครั้งที่ 4 “ยุติความรุนแรง ขอพื้นที่ปลอดภัย”Lanna CRC Festival #4 : Child-Friendly Space to End Violence against Children and Women เ นื่ อ ง ใ น โ อ ก า ส ค ร บ ร อ บ 3 2 ปี
การลงสัตยาบันรับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กของประเทศไทย วันเสาร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ.2567 ช่วงเช้า ณ โรงแรมดวงตะวัน จังหวัดเชียงใหม่ กิจกรรมภาคเช้า ประกอบด้วย การออกบูทนิทรรศการของหน่วยงาน ก า ร เ ล่ น เ ก ม / กิ จ ก ร ร ม เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ใ น ป ร ะ เ ด็ น ต่ า ง ๆ การร่วมรณรงค์เขียนข้อความรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็กและสตรีการแสดงของเด็กเยาวชน พิธีเปิดงาน แ ล ะ เ ว ที เ ส ว น า แ ล ะ ร่ ว ม ก า ร เ ส ว น า โ ต๊ ะ ก ล ม : เ ว ที เ ส ว น า เ พื่ อ ส ร้ า ง ค ว า ม มุ่ ง มั่น แ ล ะ ผ ลัก ดัน ข้อ เ ส น อ แ น ะ เ ชิง น โ ย บ า ย แ ส ว ง ห า ม า ต ร ก า ร แ ล ะ ท รัพ ย า ก ร เ พื่ อ สิท ธิเ ด็ก ภาคค ่ าเวทีรณรงค์สาธ ารณะเด็กและสต รีส่งเสียง: “ยุติความรุนแรง ขอพื้นที่ปลอด ภัย” ด้วยการแสดงและสื่อหลากหลายรูปแบบของเด็กเยาวชนและสตรีรวมถึงกิจกรรมสร้างความมุ่งมั่น (Pledge of Action) ข่ ว ง ป ร ะ ตู ท่ า แ พ มี ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง เ ย า ว ช น บูทนิทรรศการโดยมีตัวแทนแต่ละองค์กรขึ้นเวทีแนะน า บูธนิทรรศการบนเวทีการอ่านแถลงการณ์ 5 ป ร ะ เ ด็ น เ พื่ อ สิ ท ธิ เ ด็ ก แ ล ะ ส ต รี ต่ อ ส า ธ า ร ณ ะ และกิจกรรมนับถอยหลังเข้าสู่เทศกาลการรณรงค์การยุติความรุนแรงต่อเด็กหญิงและสตรี 25 พฤศจิกายน – 10 ธันวาคม 2567
๑๒
1 2 . แ ก น น า เ ย า ว ช น เครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็กและเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนาร่วมจดั กิจกรรมรณรงค์ในงาน เดิน วิ่ง ข้ามโขง 2024 (Kham Kong Run #3) “ยุติความรนุ แรงด้วยเหตุแห่งเพศ” ณ เมืองห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว สปป.ลาว – อ าเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ระหว่างวันที่ 7-8 ธันวาคม 2567
น้อง ๆ แกนน าได้จัดกิจกรรมในบูทนิทรรศการ มีเกมบันไดงูเกี่ยวกับลดความรุนแรง โปสเตอร์รณรงค์ “ ล ะ เ ล ย เ ล ย รุ น แ ร ง ” แ จ ก พั ด ร ณ ร ง ค์ รู้ เ ท่ า ทั น ภั ย อ อ น ไ ล น์ แจกเอกสารข้อมูลหน่วยงานให้ความช่วยเหลือเมื่อเกิดเหตุจากการใช้อินเตอร์เน๊ต และการละเมิดทางเพศ เกม จิ๊ ก ซ อ ร์เ รื่ อ ง สิ ท ธิ ใ น เ นื้ อ ตั ว ร่ า ง ก า ย สิ ท ธิ เ ด็ ก แ ล ะ ป ร ะ เ ภ ท ค ว า ม รุ น แ ร ง มีป้ายผ้าให้เขียนข้อความรณรงค์ยุติความรุนแรง ประเด็นไม่ตีเด็ก และปัญหาเด็กลูกหลานแรงงานข้ามชาติ แ ล ะ ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม ร ณ ร ง ค์ ข บ ว น ร ถ ตุ๊ก ๆ โ ด ย LCRC/CRYA /SUFASEC จ า น ว น 2 0 คัน ติดป้ายรณรงค์ยุติความรุนแรง 3 ภาษา (ไทย,อังกฤษ,ลาว) ติดตั้งแต่ 6 -15 ธ.ค.2567 และมีการนั่งรถตุ๊กๆ โ ด ย แ ก น น า เ ด็ ก แ ล ะ พี่ ๆ จ า น ว น ป ร ะ ม า ณ 4 0 ค น ถือปัายและแจกเอกสารเชิญชวนคนในตลาดร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการลดความรุนแรงและให้ข้อมู ลเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมรณรงค์ รวมถึงมีส่วนร่วมกิจกรรมรณรงค์ร่วมกันที่สะพานมิตรภาพ (เครือข่ายจาก ลาว /LCRC/CRYA) มีการขึ้นกล่าวแถลงการณ์และข้อเสนอแนะบนเวทีโดยตัวแทนของ แกนน าเยาวชน เครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็กและเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา
กิจกรรมสา คญั อื่นๆ ที่มูลนิธิรกัษ์เดก็ดา เนินงาน
นอกเหนือโครงการต่างๆ และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมแก่แกนน าเดก็และเยาวชน ในปี พ.ศ.๒๕๖๗
๑.ทุนการศึกษาต่อเนื่อง ม.๑ ถึง ม.๓ โดยเงินดอกเบี้ยได้จาก กองทุนจัดตั้งมูลนิธิรักษ์เด็ก (Scholarship) มู ล นิ ธิ รั ก ษ์ เ ด็ก ยังคงด าเนินงานมอบทุนการศึกษาต่อเนื่องส าหรับเด็กระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเงินได้จากกองทุนจัดตั้งมูลนิธิรักษ์เด็ก ในปี พ.ศ.๒๕๖๗ จ านวน ๒ ทุน
๒. ให้ความช่วยเหลือเพื่อบรรเทาทุกข์แก่เด็ก เยาวชน และครอบครัว ที่เปราะบางต่อปัญหาสังคม ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จาก Give 2 Asia ได้ช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากปัญหาอุทกภัยน ้าท่วม ที่บ้านเมืองกึ๊ด ม. ๒ ต.กึ๊ดช้าง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ ซึ่งมีชาวบ้านผู้ประสบภัยน ้าป่ าไหลหลาก ที่อาศัยอยู่หลายชาติพันธุ์ เช่นคนไทยท้องถิ่น กลุ่มชาติพันธุ์ เผ่าลาหู่ คนไทใหญ่ ส่งมอบชุดถุงยังชีพ
จ านวน ๑๒๐ ชุด มอบของส าหรับเด็กเล็ก ได้แก่ นม ขนมส าหรับเด็ก ชุดแปรงสีฟัน ยาสีฟัน อุปกรณ์การเรียน เช่น ดินสอ สี ปากกา ไม้บรรทัด ยางลบ สมุดระบายสี สมุดโน๊ต จ านวน ๒๐๐ ชุด
๑๓
๓ .ส นั บ ส นุ น ทุ น ก า ร ศึ ก ษ า ใ ห้ แ ก่ นั ก เ รี ย น ลู ก ห ล า น แ ร ง ง า น ข้ า ม ช า ติ ที่มีความประพฤติเรียบร้อยครอบครัวได้รับผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจ จาก Give 2 Asia จ านวน ๑ ราย ๔ .ส นั บ ส นุ น ทุ น ก า ร ศึ ก ษ า ใ ห้ แ ก่ นั ก เ รี ย น ลู ก ห ล า น แ ร ง ง า น ข้ า ม ช า ติ ที่ครอบครัวประสบปัญหาความยากล าบากจากความเปราะบางของครอบครัว สนับสนุนโดย CAF America จ านวน ๒ รายและมอบอุปกรณ์ส าหรับเด็ก เช่น นม ผ้าอ้อมส าเร็จรูป จ านวน ๑ ราย
…………………………………………………………………………………………………….