ผลการดำเนินงาน มูลนิธิรักษ์เด็ก ในปี พ.ศ.

๑ 

บทสรุปส ำหรับผู้บริหำร 

ผลกำรด ำเนินงำน มูลนิธิรักษ์เด็กในปีพ.ศ.๒๕๖๗ 

๑.โครงกำร “สนับสนุนกำรรักษำโรคหัวใจแก่เด็กและครอบครัวที่อยู่ในภำวะยำกลำ บำก” (PFCP) 

มูลนิ ธิ รักษ์เด็กได้รับงบประมาณต่อเนื่ องให้ด าเนิ นงาน จาก Edwards Lifesciences Foundation  ผ่านองค์กรจัดการโครงการชื่อ CAF America และบริษัท Daiichi Sankyo Limited Thailand จ านวน ๗๒๐,๐๐๐  บาท โดยปี พ.ศ. ๒๕๖๗ มีผู้ป่ วยโรคหัวใจได้รับการผ่าตัดแล้ว จ านวน ๓๑ ราย (ผู้ใหญ่ ๒๘ ราย เด็ก ๓ ราย) จัด กิจกรรมออกหน่วยแพทยเ์คลื่อนที่เพื่อบริการคดักรองโรคหัวใจ จา นวน ๔ คร้ัง มีผู้เข้ารับบริการตรวจคัดกรอง โรคหัวใจจ านวน ๓๗๒ คน และได้จัดกิจกรรมรณรงค์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคหัวใจแก่ญาติผูป้่วยและ ประชาชนทวั่ ไปจา นวน ๑,๓๒๘ ราย 

๒.โครงกำร “เสริมพลงัแก่กลุ่มผู้หญิงพงึ่ ตนเองเพื่อส่งเสริมสุขภำพและกำรพฒั นำแก่ลูกหลำน” (MWEC) 

มูลนิธิรักษ์เด็กได้ด าเนินงานโครงการน้ีเป็นปี ที่สามของโครงการเต็มรูประยะเวลารวม ๕ ปี ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ถึง พ.ศ.๒๕๖๙ โดยด าเนินงานในพ้ืนที่อ าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่จ านวน ๓ ตา บลไดแ้ก่ ตา บล หนองหาร ต าบลแม่แฝกใหม่และต าบลป่ าไผ่ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก Kinder not hilfe (KNH) จ านวน  ๑,๙๘๓,๑๓๐.๘๖ บาท ผลการดา เนินงานมีดงัน้ีคือ 

๑.มีกำรจัดต้ังกลุ่มผู้หญิงพึ่งตนเอง จ ำนวน ๒๔ กลุ่ม มีสมาชิกของกลุ่มรวมกนั ท้งัสิ้นจ านวน ๒๔๑ คน  มีเด็กลูกหลานของสมาชิกกลุ่มรวมท้งัสิ้นจา นวน ๒๘๒ คน มีการออมเงินของทุกกลุ่มเป็ นประจ าและมียอดเงิน กองทุนเพิ่มข้ึนสม่ าเสมอกลุ่มผู้หญิงพึ่งตนเองจ านวนหกกลุ่มมีการต้ังเป้าหมายของกลุ่มให้มีแผนการใช้ เงินกองทุนไปลงทุนท าธุรกิจของกลุ่ม ได้แก่ธุรกิจการขายของช า การผลิตน้ ายาล้างจาน น้ ายาปรับผา้นุ่ม  ผลิตน้า พริกควั่ ทรายของไทใหญ่ขายถวั่ เน่าแผ่น ซ่ึงมีผลก าไรที่ได้จากธุรกิจของกลุ่มมาจดั สรรคืนให้แก่สมาชิก และน าไปใช้จ่ายในครอบครัว รวมถึงสมทบกิจกรรมส าหรับพัฒนาลูกหลาน เช่น กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ  เป็นตน้ มีการใช้ประโยชน์จากเงินกองทุน ดว้ยการกูย้ืมเงินนา ไปจดั ซ้ืออุปกรณ์การเรียนเพื่อการศึกษาของลูก  เป็ นค่ารักษาพยาบาลและเป็ นค่าใช้จ่ายในการด าเนินการต่อใบอนุญาตท างานเพื่อให้มีงานท าสร้างรายไดใ้ห้แก่ ตนเองและครอบครัว  

๒.สนับสนุนให้สมำชิกกลุ่มผู้หญิงพึ่งตนเองรวมตัวกันจัดต้ังเป็นเครือข่ำยผู้หญิงพึ่งตนเองระดับชุมชน (Community self-help groups cluster (CLA) ได้จ านวน ๒ เครือข่ายซึ่ งเครือข่ายที่ ๑ มีศูนย์กลางอยู่ที่พ้ืนที่ ต าบลหนองหาร มีกลุ่มสมาชิกจ านวน ๔ กลุ่ม และเครือข่ายที่ ๒ มีศูนย์กลางอยู่ที่พ้ืนที่ต าบลแม่แฝกใหม่ มีกลุ่ม สมาชิกจ านวน ๔ กลุ่ม ท้งัน้ีเพื่อรวมพลังเข้าไปมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคมที่เป็ นปัญหาและ ความต้องการของพี่น้องแรงงานข้ามชาติ โดยเฉพาะการพัฒนาลูกหลานของตนเอง ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทางด้านสังคม เศรษฐกิจและด้านการเมือง

ผลการด าเนินงานมูลนิธิรักษ์เด็ก ประจ าปี ๒๕๖๗ 

๒ 

๓.งำนด้ำนกำรส่งเสริมพัฒนำเครือข่ำยแกนน ำเยำวชนบุตรหลำนคนงำนข้ำมชำติ(เครือข่ำย Migrant  Youth Leaders) โครงการได้จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนน าเยาวชน จ านวน ๗๗ คน ประกอบด้วยแกนน า เยาวชน จาก ๓ โรงเรียนพันธมิตร ได้แก่ โรงเรี ยนบ้านเจดีย์แม่ครัว โรงเรี ยนบ้านแม่โจ้และโรงเรี ยนวัด  แม่แก้ดน้อย จ านวน ๕๗ คนรวมถึงแกนน าเยาวชนที่เป็ นลูกหลานคนงานข้ามชาติในชุมชนของกลุ่มผู้หญิง พึ่งตนเองจ านวน ๒๐ คน การจัดอบรมเน้นกระบวนการพัฒนาทักษะชีวิต บทบาทการเป็ นผู้น าและสนับสนุนการ จัดต้งัเครือข่ายเยาวชนลูกหลานคนงานขา้มชาติจากระดับต าบลสู่ระดับอ าเภอ เพื่อท าหน้าที่เผยแพร่ความรู้ที่ได้รับ ถ่ายทอดให้แก่เพื่อนๆ พี่ๆนอ้งๆ ในโรงเรียนและชุมชนของตนเอง ซ่ึงในการน้ีแกนนา เยาวชนไดด้า เนินการจดั กิจกรรมที่ริเริ่มดว้ยตนเอง ๓ โครงการ สามารถจดักิจกรรมที่มีผูเ้ขา้ร่วมรับรู้และรับขอ้ มูลครอบคลุมเด็กจ านวน กว่า ๑๐,๕๐๐ คน  

๓. โครงกำรเสริมพลังและควำมเข้มแข็งแก่เครือข่ำยเยำวชนชำติพันธ์ุและชนเผ่ำพื้นเมืองและเครือข่ำยองค์กร ภำคประชำสังคมด้ำนสิทธิเด็กในภำคเหนือตอนบนของประเทศไทย (EE-CR) 

มูลนิธิรักษ์เด็กได้ด าเนินงานโครงการน้ีเป็นปี ที่สี่ซึ่งเป็ นปี สุดท้ายของโครงการ ต้งัแต่เดือนมกราคม ถึง เดือน ธันวาคม ๒๕๖๗ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก Diakonia Thailand จ านวน ๗๐๕,๖๖๗ บาท ท้ังน้ีมูลนิธิ  รักษ์เด็กได้ด าเนินงานในฐานะที่ท าหน้าที่เป็ นกองเลขานุการเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา ได้เติมเต็มและต่อยอดการ พัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนาอย่างต่อเนื่อง เกิดการรวมตัวขององค์กร ภาคประชาสังคมที่เนน้การส่งเสริมและคุม้ครองสิทธิเด็ก ร่วมกนัรณรงคแ์ละผลกั ดนั เชิงนโยบายอย่างต่อเนื่องท้งั สี่ปี ปัจจุบันมีจ านวนองค์กรสมาชิกเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา จ านวน ๑๘ องค์กร มีหน่วยงานภาครัฐเป็ นที่ปรึกษา เครือข่าย จ านวน ๗ องค์กรและกลุ่มเครือข่ายเด็กและเยาวชนจ านวน ๒๒ กลุ่ม รวมเป็นจา นวนท้ังสิ้น ๔๗ องค์กร/กลุ่ม เครือข่ายสิทธิเด็กล้านนาได้ร่วมงานกบัองคก์รปกครองส่วนทอ้งถิ่น บา้นพกัเด็กและครอบครัว และ ส านกังานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์สร้างเสริมความเขม้แข็งแก่กลไกคุม้ครองเด็กในทอ้งถิ่น และ เพิ่มการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนใหใ้ชเ้วทีสภาเด็กและเยาวชนระดบั ตา บลจา นวน ๑๐ ตา บล ๘ อา เภอใน ๔ จังหวัด ร่วมจัดงานมหกรรมสิทธิเด็กล้านนา “เด็กและสตรี ส่ งเสียง : “ยุติควำมรุนแรง ขอพื้นที่ปลอดภัย”  (Lanna CRC Festival : Child-Friendly Space to End Violence against Children and Women) เนื่ องใ น โอกาสวันเด็กโลก เพื่อน าเสนอแถลงการณ์ความห่วงกังวลต่อสถานการณ์สิทธิเด็ก จัดกิจกรรมรณรงค์แก่ สาธารณชนและยื่นขอ้เสนอแนะแก่หน่วยงาน กรรมาธิการฯ ผูม้ีหนา้ที่และความรับผิดชอบในการส่งเสริมและ คุม้ครองสิทธิเด็กจา นวน ๔ คร้ัง 

สนับสนุนให้เกิดเครือข่ำยเยำวชนนักกิจกรรรมเพื่อสิทธิเด็ก มีการรวมตัวของแกนน าเยาวชน จ านวน  ๒๒ กลุ่ม ในชื่อเครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก ที่มีส่วนร่วม รู้เท่าทัน พัฒนาทักษะและร่วมรณรงค์  เรียกร้องสิทธิอันพึงมีพึงได้ของตนเองร่วมกับเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา  

▪ เครือข่ายเด็กและเยาวชนตน้ กลา้ชนเผ่าพ้ืนเมือง กลบั มาเขม้แข็ง คืนพลงัและร่วมรณรงค์ผลกั ดนั สิทธิ  ชนเผา่ พ้ืนเมืองกบั สภาชนเผา่ พ้ืนเมืองแห่งประเทศไทย

ผลการด าเนินงานมูลนิธิรักษ์เด็ก ประจ าปี ๒๕๖๗ 

๓ 

▪ เครือข่ายเยาวชนนกักิจกรรรมเพื่อสิทธิเด็ก ริเริ่ม ดา เนินกิจกรรม โครงการณรงค์จา นวน ๒๓ โครงการ ในโรงเรียนและชุมชนของตนเองครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายกว่า ๘๐,๐๐๐ คน 

▪ เครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรรมเพื่อสิทธิเด็ก ร่วมกิจกรรมรณรงค์ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเด็กใน ทอ้งถิ่น ท้งัระดบั ตา บลอา เภอและจงัหวดัมากกวา่ ๓๐ คร้ัง 

▪ แกนน าเยาวชน ของเครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรรมเพื่อสิทธิเด็ก เข้าร่วมเวที แสดงความคิดเห็นให้ ขอ้เสนอแนะในมุมมองของเด็กและเยาวชน ท้งัระดบั ชาติและนานาชาติมากกวา่ ๓๐ เวที 

นอกจำกนี้ ในปี๒๕๖๗ เครือข่ำยสิทธิเด็กล้ำนนำ (LCRC) จึงได้ขับเคลื่อนประเด็นสิทธิเด็กเพื่อให้เด็กและ เยำวชนมีชีวิตที่ดีขึ้น ๕ ประเด็นคือ ๑.ประเด็นสิทธิเด็กที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครองจากความรุนแรงทุก ประเภท *การลงโทษเด็กทางกาย **ความรุนแรงจากการเลือกปฏิบัติต่อกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ  (LGBTQI+) ***ความรุนแรงต่อสตรีในครอบครัวและชุมชน ๒.ประเด็นสิทธิวัยรุ่นกับปัญหาอนามัยเจริญพันธ์  โรคติดต่อและการคุกคามทางเพศ ๓.ประเด็นรู้เท่าทันและขจัดความรุนแรงจากภัยออนไลน์ รวมถึงการแสวงหา ประโยชน์ทางเพศจากเด็กและสตรีและการค้ามนุษย์ ๔.ประเด็นสิทธิเด็กที่จะมีชีวิตในสิ่งแวดลอ้ มที่มีสุขภาวะ โดยเน้นที่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ๕.ประเด็นประเด็นสิทธิเด็กลูกหลานคนงานข้ามชาติและเด็กไร้รัฐไร้ 

สัญชาติที่ต้องได้รับการพัฒนาสถานะบุคคล เข้าถึงการโอกาสทางการศึกษา การดูแลสุขภาพและการ รักษาพยาบาล 

อีกหนึ่งควำมส ำเร็จในการเปิดพ้ืนที่สร้างสรรค์และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของเด็กในฐานะกอง เลขานุการเครือข่ายสิทธิเด็กลา้นนาและองคก์ รสมาชิกไดต้้งัแต่เดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคม ๒๕๖๗ เครือข่าย สิทธิเด็กล้านนา ประสบความส าเร็จในการจัดมหกรรมเมหกรรม เด็กและสตรีส่งเสียง : “ยุติควำมรุนแรง ขอ พื้นที่ปลอดภัย” Lanna CRC Festival #๔: เนื่องในโอกำสครบรอบ ๓๔ ปีกำรลงสัตยำบันรับอนุสัญญำว่ำด้วย สิทธิเด็กของประเทศไทย โดยถือเป็ นกิจกรรมที่องค์กรสมาชิกเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา ได้บูรณาการงบประมาณ  ทรัพยากรบุคคล การจดังานคร้ังน้ีมี๓ รูปแบบ ประกอบดว้ย เวทีสา คญั คือ 

๑. เสวนาโต๊ะกลม : เวทีเสวนาเพื่อสร้างความมุ่งมนั่ และผลกั ดนัขอ้เสนอแนะเชิงนโยบาย ณ หอ้งประชุม แกรนด์บอลลูนโรงแรมดวงตะวัน จังหวัดเชียงใหม่  

๒. การเดินรณรงค์จากพุทธสถาน ไปยังลานกิจกรรมประตูท่าแพ และ  

๓.เวทีรณรงค์สาธารณะ ณ บริ เวณข่วงประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีการอ่านแถลงการณ์ ข้อเสนอแนะจากเด็กและเยาวชนใน ๕ ประเด็นที่ขับเคลื่อน ในงานน้ีมีองค์กรเข้าร่วมท้ังหมด ๓๑ องค์กร ผเู้ขา้ร่วมงานท้งัหมด ๔๒๐ คน โดยเป็นตวัแทนจากองคก์รสมาชิกเครือข่ายสิทธิเด็กลา้นนา และประชาชนทวั่ ไป ที่ให้ความสนใจ รวมไปถึงผู้ชมที่เข้าถึงการถ่ายทอดสด ประมาณจ านวน ๒,๐๐๐ คน มีการเผยแพร่สู่เพจ สาธารณะอื่นๆ จ านวนกว่า ๕,๐๐๐คน

ผลการด าเนินงานมูลนิธิรักษ์เด็ก ประจ าปี ๒๕๖๗ 

๔ 

๔. โครงกำรเสริมสร้ ำงควำมเข้มแข็งและเสริมพลังแก่เครือข่ำยสิทธิเด็กล้ำนนำเพื่อกำรขับเคลื่อน ผลักดัน  ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเด็ก(SE-LCRC)  

โครงกำรนี้มีส่วนสนับสนุนกำรด ำเนินงำนของเครือข่ำยสิทธิเด็กล้ำนนำ ต้งัแต่เดือนมกราคม ถึง เดือน กันยายน ๒๕๖๖ โดยการสนับสนุนงบประมาณจาก Kinder not hilfe (KNH) จ านวน ๕๔๐,๐๐๐ บาท และได้มี การปรับปรุงแผนงานและวงงบประมาณ ขยายเวลาด าเนิงานต่อจากเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๖ ถึงเดือนธันวาคม ๒๕๖๗ เป็ นจ านวนงบประมาณรวมท้งัสิ้น ๙๗๓,๓๘๐ บาท โครงการได้ส่งเสริมให้การขับเคลื่อนงานของกอง เลขานุการของเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา เอ้ือใหเ้กิดเวทีการประชุมสัมมนากับองค์กรสมาชิกอย่างต่อเนื่อง เกิดการ สัมมนาและอภิปรายความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นสถานการณ์ปัญหาของเด็กและเยาวชนในภาคเหนือตอนบน ตามสิทธิที่พวกเขาพึงมีพึงได้ และมีความเห็นพร้องกันว่าจะเน้นขับเคลื่อนประเด็นสิทธิเด็กเพื่อให้เด็กและ เยาวชนมีชีวิตที่ดีข้ึน ๔ ประเด็นคือ ๑) ประเด็นสิทธิเด็กที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครองจากความรุนแรงทุก ประเภทและทุกสถานที่ท้งัในบา้น โรงเรียน ชุมชน สถานสงเคราะห์และในโลกออนไลน์๒) ประเด็นสิทธิเด็กที่ ต้องได้รับการพัฒนาสถานะบุคคล เข้าถึงการดูแลสุขภาพและการรักษาพยาบาล ๓) ประเด็นสิทธิเด็กที่จะมีชีวิต ในสิ่งแวดลอ้ มที่มีสุขภาวะโดยเน้นที่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ๔) ประเด็นสิทธิเด็กที่จะเข้าถึงการศึกษา  การส่งเสริมทักษะวิชาอาชีพที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน รวมถึงได้เรียนรู้วิถีชีวิต วัฒนธรรมและภูมิปัญญาชาติ พันธุ์ของตนเอง ท าให้เกิดการบูรณาการแผนงาน งบประมาณ ทรัพยากรระหว่างองค์กรสมาชิก โดยเฉพาะการ ร่วมกันขับเคลื่อนงานรณรงค์ผลักดันสิทธิเด็ก ๔ ประเด็นในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนธันวาคม ๒๕๖๗ ต้งัแต่ระดบั ทอ้งถิ่น อา เภอ จงัหวดั ประเทศ และระดบั สากล อาทิเช่น ร่วมจัดงำนรณรงค์ขจัดควำมรุนแรงด้วย เหตุแห่งเพศสภำพ (Gender-based violence’s) ในห้วงเวลำแห่งกำรรณรงค์ Orange Days Activism โดยจัด กิจกรรมรณรงค์แก่สำธำรณะระหว่ำงกิจกรรมเดิน-วิ่ง ข้ำมโขง ณ อ ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรำย และกำร สื่อสำรผ่ำนช่ องทำงออนไลน์ ระหว่ำงวันที่ ๒๕ พ.ย. ถึง ๑๐ ธันวำคม ซึ่งได้ด ำเนินงำนต่อเนื่องมำถึง ๓ ปี 

ติดต่อกัน (๒๕๖๕-๒๕๖๗) 

จุดเด่นของควำมส ำเร็จ คือ กำรจัดกิจกรรม Chiang Mai Pride 2024 จัดวันที่ ๒๕- ๒๖ พ.ค.๒๕๖๗  ณ ลำนกิจกรรมประตูท่ำแพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ มีแกนน าเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก (CRYA) มีส่วนร่วม การเฉลิมฉลองความเท่าเทียมทางเพศ ในเดือนแห่งการรณงค์ความเท่าเทียมบนความหลากหลายทางเพศและได้ เป็ นตัวแทนเด็กและเยาวชน ในนามของเครือข่าย CRYA / LCRC ข้ึนพูดบนเวทีเพื่อประกาศเจตนารมย์จ านวน  ๒ คน เกี่ยวกับสิทธิเด็กผู้มีความหลากหลายทางเพศ“โดยต้องการให้หน่วยงานภาครัฐ และเอกสารสนับสนุนและ เปิดพ้ืนที่สร้างสรรค์พ้ืนที่ปลอดภยัส าหรับเด็กและเยาวชนกลุ่ม ผู้มีความหลากหลายทางเพศ ให้มีโอกาสแสดง ความสามารถ ส่งเสริมให้มีสัดส่วนตัวแทนของเด็กและเยาวชนผู้มีความหลากหลายทางเพศ ให้มีบทบาทใน ชุมชนทุกระดับ มีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เด็กได้รับ มีการเยียวยา ทางดา้นจิตใจเพื่อสร้างความมนั่ ใจให้แก่เด็กและเยาวชน ร่วมกบั เพื่อนๆ และคนอื่นๆ อย่างมีความสุข รวมถึง ได้รับการยอมรับจากคนในสังคม “เพราะเราเท่าเทียมกัน ไม่เลือกปฏิบัติ ค านึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็ก”ตาม

ผลการด าเนินงานมูลนิธิรักษ์เด็ก ประจ าปี ๒๕๖๗ 

๕ 

หลักการของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก นอกจากน้ีแกนน าเยาวชนยงัมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ กฎหมายรับรองเพศสภาพภาคประชาชนและร่วมจัดบูทนิทรรศการเผยแพร่ข้อมูลและเกมเกี่ยวกับการยุติความ รุนแรงต่อเด็กผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ และข้อความร่วมรณรงคร์วมพลงัในประเด็นสิทธิเด็กกบั สิ่งแวดลอ้ ม พร้อมกับการเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะเช่น มีการให้สัมภาษณ์ผ่านสื่อช่องทางหลักหลายสถานี มีการไลฟ์สด คาด ว่ามีผู้เข้าชม รับรู้รับทราบไปทวั่ ประเทศ ทา ให้เครือข่ำยเยำวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก เป็ นที่รู้จักและรับรู้ใน วงกว้าง ได้รับการติดต่อประสานงานจากหน่วยงาน องค์กรต่างๆ ที่ขับเคลื่อนประเด็นความหลากหลายทางเพศ ในระดับจงัหวดัเข้าร่วมเวทีเสวนาต่างๆ เพิ่มข้ึน น้องๆ เยาวชน มีควำมมั่นใจและกล้ำแสดงควำมคิดเห็นใน ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเด็กระดับสาธารณะมากข้ึน มีผู้เข้ำร่วมงำน ๕,๐๐๐ คน และมีผู้ชมผ่ำนระบบออนไลน์ จ ำนวนประมำณ ๕๐,๐๐๐ คน 

อีกหนึ่งความส าเร็จของเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา คือเกิดคณะท ำงำนสิทธิเด็กลูกหลำนแรงงำนข้ำมชำติ ของเครือข่ำยสิทธิเด็กล้ำนนำ ซึ่งได้ด าเนินงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจ านวน ๑๕ องค์กร (หน่วยงานภาครัฐ  ๑๐ องค์กร หน่วยงานภาคประชาสังคม ๕ องค์กร จ านวน ๑๘ คน) โดยได้รับการแต่งต้ังเป็ น “คณะท ำงำน คุ้มครองสิทธิเด็กลูกหลำนแรงงำนข้ำมชำติจังหวัดเชียงใหม่ ภำยใต้คณะอนุกรรมกำรคุ้มครองเด็กจังหวัด เชียงใหม่” ตามคา สั่งแต่งต้งัจากผวู้่าราชการจงัหวดัเชียงใหม่ลงนามเมื่อวนั ที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๖๗ โดยมีท่านพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวดั เชียงใหม่ ดา รงตา แหน่งประธานคณะท างาน และ นายเกรียงไกร  ไชยเมืองดี ผู้อ านวยการมูลนิธิรักษ์เด็ก /ผู้แทนเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา ต ารงต าแหน่งรองประธานคณะท างาน 

๕. โครงกำร “ยืนหยัด ขจัดกำรแสวงหำประโยชน์ทำงเพศจำกเด็ก”  

(Step Up to Fight Against Sexual Exploitation on Children; SUFASEC) 

มูลนิธิรักษ์เด็ก ต่อยอด การด าเนินงาน โครงกำร “ยืนหยัด ขจัดกำรแสวงหำประโยชน์ทำงเพศจำกเด็ก”  (Step Up to Fight Against Sexual Exploitation on Children; SUFASEC) ในพ้ืนที่จงัหวดัเชียงใหม่ เชียงราย และแม่ฮ่องสอน เป็ นปี ที่สองของโครงกำร ต้งัแต่เดือนมีนาคม ๒๕๖๗ ถึง เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๘ ได้รับการ สนับสนุนจากเครือข่าย Down To Zero และเครือข่ายพันธมิตรเพื่อสิทธิเด็กเอเชีย (CRC Asia) น าการบริหาร โครงการโดยองค์การแตแดซอม ประเทศเนเธอร์แลนด์ (terre des hommes Netherland) ได้รับงบประมาณ สนับสนุน จ านวน ๓,๒๑๔,๘๖๐.๕๘ บาท จากการด าเนินงานในปี ที่สอง โดยความร่วมมือจากโรงเรียนพันธมิตร ท้งัหกแห่งและคณะกรรมการพฒั นาคุณภาพชีวิตระดบัอา เภอ(พชอ.) ในพ้ืนที่เป้าหมายของโครงการ ประสบ ความส าเร็จคือ  

๑. มีครูแกนน ำจ ำนวน ๖๕ คน ที่ได้รับการอบรม เรื่องเพศวิถี การอนามัยเจริญพันธุ์ และป้องกันการ แสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก และนา ไปจดัการเรียนรู้ให้แก่นกัเรียนโดยบูรณาการในแผนการ เรียนการสอน วิชาสุขศึกษา วิชาชุมนุม และ Home room

ผลการด าเนินงานมูลนิธิรักษ์เด็ก ประจ าปี ๒๕๖๗ 

๖ 

๒. มีผู้ปกครอบและผู้เลีย้งดูเด็กจ ำนวน ๗๕๗ คน ไดร้ับการอบรมเรื่องการเล้ียงลูกเชิงบวกเพื่อสร้าง ความตระหนักต่อการป้องกันการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก และเกิดแกนน าผู้ปกครองที่คอยเฝ้าระวัง และส่งต่อกรณีเด็กถูกกระท าความรุนแรงในกรณีเกิดเหตุในชุมชน จ านวน ๒๑ คน 

๓. เกดิกำรจัดต้ังคณะท ำงำนพฒั นำคุณภำพชีวิตระดับอำ เภอ โดยมีค ำสั่งแต่งตั้งจำกนำยอ ำเภอปำงมะผ้ำ  จังหวัดแม่ฮ่องสอน นำยอ ำเภอฝำง จังหวัดเชียงใหม่ และนำยอ ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรำย พร้อมท้งัมีแผนการ ขับเคลื่อนงานป้องกันการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็กร่วมกันกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตอ าเภอ ท้งัสามแห่งอย่างเป็ นรูปธรรม  

๔. เกิดกลุ่มแกนน ำเด็กและเยำวชนต่อต้ำนกำรแสวงหำประโยชน์ทำงเพศจำกเด็ก (SUFASEC Youth  Council) ซ่ึงมีสมาชิกจากพ้ืนที่ ๓ จงัหวดั จา นวน ๒๓ คน ที่ร่วมขบั เคลื่อนงานรณรงค์ในประเด็นการอนามัย เจริญพันธุ์ภยัออนไลน์และป้องกนัการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก ในเวทีต่างๆที่จดัข้ึนในระดบัอา เภอ และระดบั ชาติเช่น งานมหกรรมสิทธิเด็กลา้นนา งานวนัยตุ ิความรุนแรงต่อเด็กและสตรีงานมหกรรมเดินวิ่งขา้ม โขงยุติความรุนแรงด้วยเหตุแห่งเพศ งานวันส่งเสริมอินเทอร์เน็ตปลอดภัยแห่งชาติ (กุมภาพันธ์ ๒๕๖๘) เป็ นต้น  และมีแกนนา นกัเรียนในโรงเรียนพนัธมิตรท้งั ๖ แห่งจา นวน ๙๒๙ คนที่ผ่านการอบรมพฒั นาศกัยภาพ ได้จัดท า โครงการริเริ่มโดยกลุ่มเด็ก ผา่ นกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน ในประเด็นการป้องกนัการต้งัครรภใ์นวยัรุ่น การป้องกนั ภัยออนไลน์ และป้องกันการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก โดยมีนักเรียนได้รับความรู้จากการเข้ากิจกรรม ดังกล่าว จ านวน ๔๐๐ คน 

๖. โครงกำรเสริมสร้ำงองค์กรภำคประชำสังคมและผู้มีบทบำทในระดับท้องถิ่นเพื่อกำรผลักดันเชิงนโยบำย (Building Organisations & Local actors Dialogue (for) – Policy ; B.O.L.D) 

มูลนิธิรักษ์เด็กเริ่มดา เนินงานโครงการใหม่คือ โครงกำรเสริมสร้ำงองค์กรภำคประชำสังคมและผู้มี บทบำทในระดับท้องถิ่นเพื่อกำรผลักดันเชิงนโยบำย (Building Organisations & Local actors Dialogue (for) – Policy ; B.O.L.D. – Policy)ครอบคลุมพ้ืนที่ ๑๑ ตา บล ๗ อา เภอ ๓ จงัหวดั ซ่ึงต่อยอดการทา งานในพ้ืนที่ที่มูลนิธิ รักษ์เด็กเคยด าเนินงานโครงการด้านสิทธิเด็ก คือ อ าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ อ าเภอปาย อ าเภอปางมะผ้า จังหวัด แม่ฮ่องสอน อา เภอเชียงของ จงัหวดัเชียงราย และขยายพ้ืนที่การทา งานใหม่ไปที่อา เภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่  อา เภอเทิง อา เภอเชียงแสน จงัหวดัเชียงราย มีระยะเวลาการดา เนินงาน ๔ ปีต้งัแต่เดือน มกราคม ๒๕๖๗ ถึง เดือนธันวาคม ๒๕๗๐ โดยมูลนิธิรักษ์เด็กด าเนินงานโครงการร่วมกับ มูลนิธิศูนย์เพื่อน้องหญิง บริหารโครงการ โดย องค์การไดอะโกเนีย ส านักงานประเทศไทย (Diakonia Thailand) ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสหภาพ ยุโรป (The European Union – EU)และในปี พ.ศ. ๒๕๖๗ ได้รับงบประมาณจ านวน ๑,๙๐๕,๗๙๕.๖๓ บาท 

ท้งัน้ีโครงการมุ่งเนน้การทา งานร่วมกบั เครือข่ำยสิทธิเด็กล้ำนนำ (LCRC) เครือข่ำยเยำวชนนักกิจกรรม เพื่อสิทธิเด็ก (CRYA) และองค์กรชุมชนที่ท ำงำนด้ำนเด็กและเยำวชน โดยการสนับสนุนของหน่วยงานภาครัฐ  และองคก์รปกครองส่วนทอ้งถิ่นในพ้ืนที่เป้าหมายของโครงการ และได้มีการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ  (MOU) กบั หน่วยงานทอ้งถิ่นในพ้ืนที่ท้งั ๑๑ ตา บลอีกท้งัไดเ้ชื่อมงานกบัคณะกรรมการพฒั นาคุณภาพชีวิตระดบั

ผลการด าเนินงานมูลนิธิรักษ์เด็ก ประจ าปี ๒๕๖๗ 

๗ 

อา เภอในพ้ืนที่อา เภอฝางจงัหวดัเชียงใหม่และอา เภอเชียงของจังหวัดเชียงราย มีแกนน าเด็กและเยาวชนเข้าร่วม โครงการและผ่านการอบรมเสริมสร้างทักษะความรู้เรื่องสิทธิเด็ก ภาวะผู้น าเพื่อสังคมและการท างานเป็ นทีม จ านวน ๒๗๑ คน อีกท้ังโครงการได้จัดทา รายงานการศึกษาสถานการณ์สิทธิเด็ก (Child Rights Situational  Analysis : CRSA) ในพ้ืนที่เป้าหมายของโครงการ ซ่ึงไดม้ีการจดัเก็บขอ้ มูลกบักลุ่มเด็กและเยาวชน (ผู้มีสิทธิ) ผู้มี หน้าที่รับผิดชอบ (ครู พ่อแม่ผู้ปกครอง อาสาสมัครชุมชน องค์กรภาคประชาสังคม ผู้ที่ใกล้ชิดกับเด็ก) และผู้มี หน้าที่ให้สิทธิ (นายก อบต./ทต. ผู้บริหารโรงเรียน ผู้น าชุมชน) จ านวน ๒๒๓ คน ส าหรับน าข้อมูลไป ร่วม  วางแผนการด าเนินงานกับแกนน าเยาวชนในปี ๒๕๖๘ – ๒๕๗๐ ต่อไป 

กำรส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมในกิจกรรมกำรรณรงค์ผลักดันและกำรเข้ำร่วมงำนเวทีต่ำงๆ แก่ เด็กและเยำวชนซึ่งเป็ นแกนน ำเครือข่ำยเยำวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก ในปี ๒๕๖๗  ท้ังในรูปแบบพบหน้ำและผ่ำนช่องทำงออนไลน์ 

ในปี ๒๕๖๗ ตัวแทนจำกเครือข่ำยเยำวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก CRYAได้มีส่ วนร่วมในกิจกรรม รณรงค์ผลักดันและกิจกรรมวันส ำคัญต่ำง ๆ กว่ำ ๑๒ กิจกรรมที่เกิดขึ้นดังนี้ 

๑.ตัวแทนเครือข่ำยเยำวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก ได้ร่วมแถลงการณ์ และจัดนิทรรศการให้ความรู้ เรื่องอนามยัเจริญพนัธุ์และการป้องกนัการต้งัครรภใ์นวยัรุ่น ในงานเทศกาลเยาวชน Youth Festival จัดงานโดย มูลนิธิรักษ์ไทย ณ ลานประตูท่าแพ จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ โดยในงานได้มีการทดลองใช้  บอร์ดเกมเกี่ยวกับเรื่ องอนามัยเจริ ญพันธุ์และเรื่ องเพศปลอดภัยพร้อมจัดนิทรรศการให้ความรู้ และร่ วม 

แถลงการณ์ในงานดังกล่าว 

๒.ตัวแทนเครื อข่ ำยเยำวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก พร้ อมเครื อข่ ำยเยำวชนในพื้นที่ อ.ฝำง  จ.เชียงใหม่ และ อ.เชียงของ จ.เชียงรำย เข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านทักษะชีวิตศึกษาเรื่ องเพศวิถี  อนามัยการเจริญพันธุ์และป้องกันการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก โดยเฉพาะผ่านช่องทางการสื่อสาร ออนไลน์ภายใต้โครงกำร “ยืนหยัด ขจัดกำรแสวงหำประโยชน์ทำงเพศจำกเด็ก” (SUFASEC) ณ โรงแรมฮอลิเดย์ 

การ์เด้นท์ ระหว่างวันที่ ๒๔ – ๒๕ กุมภำพันธ์๒๕๖๗ ด าเนินการโดย มูลนิธิรักษ์เด็ก และ CRC Asia สนับสนุน โดย Down To Zero (D๒Z); Terre des hommes Netherlands และ กระทรวงการต่างประเทศ ประเทศเนเธอร์แลนด์  โดยแกนน าเยาวชนได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และวางแผนในการที่จะน ากิจกรรมไปเผยแพร่ต่อไป 

๓.ตัวแทนแกนน าเครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็กและมูลนิธิรักษ์เด็ก ในนามกองเลขานุการ เครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา องค์กรสมาชิกของเครือข่ายฯ คือ มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย มูลนิธิรักษ์ไทยและ สภานักเรียนโรงเรียนสันก าแพง เป็ นส่วนหนึ่งในการร่วมพลังร่วมใจจับมือกับสภำเด็กและเยำวชนอ ำเภออมก๋อย  และภำคีเครือข่ำยในองค์กรท้องถิ่นอ ำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ จัดงำน “อมก๋อยเฟส #๓ ดนตรี กวี ศิลป์ ”  (OmKoi FEST #๓)” ณ ลานที่ว่าการอ าเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างวันที่ ๓๐-๓๑ มีนำคม ๒๕๖๗ มีการ ประกวดแข่งขันวงดนตรี การประกวดวาดภาพใน ๒ หัวขอ้ ไดแ้ก่ ๑.“สิทธิเด็กกบั สิ่งแวดลอ้ ม เน้นการป้องกนั

ผลการด าเนินงานมูลนิธิรักษ์เด็ก ประจ าปี ๒๕๖๗ 

๘ 

ไฟป่ าและลดปัญหาหมวกควัน” ๒. “รวมพลังปกป้องเด็กจากความรุนแรงทุกรูปแบบ” กิจกรรมสร้างสรรค์ ทกั ษะการปกป้องตนเองแก่เด็กและเยาวชนที่มาร่วมงาน โดยจัดท าซุ้มนิทรรศการส าหรับเผยแพร่ความรู้และสื่อ ในเรื่องประเด็นเกี่ยวกับสิ่งแวดลอ้ มที่เอ้ือต่อสิทธิเด็ก มีกิจกรรมบอร์ดเกมการเรียนรู้เกี่ยวกับการคดัแยกขยะ บอร์ดเกมการเดินทางของหัวใจ เรียนรู้เข้าใจ ปลอดภัย ยุติการรังแก รู้เท่าทันภัยออนไลน์ท้งัน้ีมี 

นำงสำวพรเจริญ เสริมมติวงศ์ เป็ นตัวแทนเครือข่ำยเยำวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเครือข่าย และได้เชิญชวนเด็กและเยาวชนอ าเภออมก๋อยร่วมรณรงค์ #รักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม เพื่อการมีอากาศที่ดีส าหรับเด็กและ ประชาชนอ าเภออมก๋อย 

๔.ตัวแทนสมาชิกกลุ่มเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็กจ านวน ๑๐ คนได้เข้าร่วมการประชุมเชิง ปฏิบัติการ“วำงแผนงำนขับเคลื่อนสิทธิเด็กเชิงประเด็นและกำรเสริมทักษะในกำรสร้ ำงกระบวนกำรChild  Consultation แก่เครือข่ำยสิทธิเด็กล้ำนนำ” ณ โรงแรมเชียงใหม่แกรนวิว อ.เมือง จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๒๖-๒๘ เมษายน ๒๕๖๗ โดยในการประชุมตัวแทนเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก ได้น าเสนอความก้าวหน้าการ ด าเนินงานเครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็กล้านนา (CRYA) ปี ๒๕๖๖ และได้เรียนรู้กระบวนการ  (Child Consultation Process) สามารถน ามาใช้ในการด าเนินงานส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเด็กอย่างมีความหมาย ร่วมกับขับเคลื่อนแผนงานรณรงค์ประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง  

๕.เครือข่ายเด็กและเยาวชนต้นกล้าชนเผ่าพ้ืนเมือง (TKN) ได้จัดงำนสมัชชำเด็กและเยำวชนชน  เผ่ำพื้นเมือง TKN Festival เทศกำลมีดี ครั้งที่ ๔ ณ ศูนย์พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ล้านนา ต าบลแม่ปูคา อ าเภอ  สันก าแพง จังหวัดเชียงใหม่เมื่อ วันที่ ๔ – ๗ พฤษภำคม ๒๕๖๗ โดยในงานมีสมาชิกเครือข่ายเด็กและเยาวชนต้น กลา้ชนเผ่าพ้ืนเมือง รวมจา นวนท้งัสิ้น ๑๗๐ คนมีแกนน าเครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก เข้าร่วม กิจกรรมและได้รับการคัดเลือกให้เป็ นรองประธาน ๒ คนและเป็ นกรรมการ ๑ คนในคณะกรรมการเครือข่ายเด็ก และเยาวชนตน้กลา้ชนเผ่าพ้ืนเมือง ชุดใหม่ (ชุดที่๕)ผ่านการรับรองจากสมาชิกของเครือข่าย และในงานคร้ังน้ี 

เด็กและเยาวชนยังได้มีส่วนร่วมในการน าเสนอผลการด าเนินงานในแต่ละพ้ืนที่ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหาของเด็กและเยาวชนชนเผ่าพ้ืนเมืองด้วยกันเอง ท้ังประเด็นสิทธิเด็กกับ สิ่งแวดลอ้ ม ประเด็นความหลากหลายทางเพศบนพ้ืนฐานของความเป็นชาติพนัธุ์และมีความเขา้ใจถึงกลไกและ บทบาทของสภาชนเผ่าพ้ืนเมืองแห่งประเทศไทย และเขา้ใจสาระส าคญั ร่าง พ.ร.บ.สภาชนเผ่าพ้ืนเมืองแห่ง ประเทศไทย พ.ศ…. ร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ พ.ศ…. และร่าง พ.ร.บ.ฉบับอื่น ๆ  ที่เกี่ยวข้อง และได้ร่วมระดมแนวทางการมีส่วนร่วมในการผลักดันกฎหมายร่วมกันร่วมวางแผนปฏิบัติการ ขับเคลื่อนงานเครือข่ายร่วมกัน รวมถึงได้แนวทางความร่วมมือของภาคีองค์กรเครือข่ายที่ท างานด้านเด็กและ เยาวชนชนเผา่ พ้ืนเมืองในการสนบั สนุนงานแก่เครือข่ายเด็กและเยาวชนตน้กลา้ชนเผา่ พ้ืนเมือง ในระยะต่อไป 

๖.เครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็กและเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา ร่วมเดินขบวนฉลองควำม  เท่ำเทียม โบกธงสำยรุ้งปลวิสยำยสไว ส่งสัญญำณสำยลมแห่งเสรีณ ประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๒๕- ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๗ โดยในงานน้ีตัวแทนเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก น าโดยน้องต้นคูณ และ  นอ้งแมทธิวไดเ้ป็นตวัแทนเด็กและเยาวชนข้ึนเวทีประกาศเจตนารมณ์ส่งสารถึงทุกคน ในเรื่องสิทธิเด็กผูม้ีความ

ผลการด าเนินงานมูลนิธิรักษ์เด็ก ประจ าปี ๒๕๖๗ 

๙ 

หลากหลายทางเพศ พรบ.สมรสเท่าเทียมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยยึดผลประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็ นหลัก  “เพศเท่ำเทียมคนเท่ำกัน” ซึ่งได้รับความสนใจจากผู้เข้าร่วมงานเป็ นจ านวนมาก 

๗.เครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก ได้รณรงค์เชิญชวนทุกคนมำช่วยกันรักษำโลกใบนี้ให้น่ำอยู่ เพื่อเด็กๆและมนุษย์ทุกคนในอนำคต ในช่วงเวลาแห่งวันสิ่งแวดล้อมโลก วันที่ ๕ มิถุนำยน ๒๕๖๗ ผ่านช่องทาง ออนไลน์ โดยเสนอ ๔ วิธีง่ายๆในการลดการใช้พลาสติกเพื่อให้โลกน้ีน่าอยู่ส าหรับเด็กๆ และมนุษยท์ ุกคนใน อนาคตต่อไปและในโอกาสน้ีทางสภำนักเรียนโรงเรียนสันก ำแพงซึ่งเป็ นหนึ่งในสมาชิกของเครือข่ายเยาวชน  นักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก CRYA ได้เชิญชวนทุกคน เข้ำเรียนรู้หลักสูตร : กำรจัดกำรขยะอย่ำงถูกวิธีและกำร อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ออนไลน์Study At Home พร้อมท้งัรับเกียรติบตัรจากโรงเรียนสันกา แพงเมื่อจบหลกัสูตร 

๘.เครื อข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็กและกลุ่มเยาวชนต าบลนครเจดีย์ อ.ป่ าซาง จ.ล าพูน  จัดโครงกำร DVC Digital Vaccine Cyberbullying สร้ำงภูมิคุ้มภัยออนไลน์ด้วยสื่อสร้ำงสรรค์ ณ ห้องประชุม องค์การบริหารส่วนต าบลนครเจดีย์ อ.ป่ าซาง จ.ล าพูน เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๖๗ “เพรำะกำรกลั่นแกล้งกัน เป็ นบำดแผลที่บำดลึก” สนับสนุนงบประมาณโดย TKN สมาคม IMPECT สสส. อบต.นครเจดีย์ มูลนิธิรักษ์เด็ก  และเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา มีแกนน ำสภำนักเรียนโรงเรียนป่ ำซำงวชิรป่ ำซำง โรงเรียนธรรมสำธิตศึกษำ สภำ เด็กต ำบล รวมจ ำนวน ๗๐ คน วิทยากรจาก Seed Thailand และสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย ผู้บริหาร และคณะครูโรงเรียนธรรมสาธิต วชิรป่าซาง ช่วยประสานงาน และนอ้งๆเยาวชนมีความต้งัใจในการร่วมกิจกรรม เกิดความตระหนกัรู้ร่วมกนั ในช่วงเวลาของการณรงคว์นัยุติการกลนั่ แกลง้บนโลกออนไลน์สากล 

๙.เครือข่ำยเยำวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก ได้ร่วมรณรงค์ออนไลน์ในวันต่อต้านการค้ามนุษย์สากล  “หยุดค้ามนุษย์ เพราะทุกคนเท่าเทียมกัน” ๓๐กรกฎำคม ๒๕๖๗ ผ่านช่างทางออนไลน์ต่าง ๆ 

๑๐.แกนน ำเยำวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก เข้ำร่ วมอบรมออนไลน์ปลอดภัย จัดโดย ECPACT ณ  โรงแรมอโมร่า ท่าแพ วันที่ ๒๗-๓๐ ตุลำคม ๒๕๖๗ โดยได้รับการอบรมทักษะรู้เท่าทันและการป้องกันภัย ออนไลน์ใรรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้เก่งชีวิต เก่งออนไลน์ซึ่งตรงกับสถานการณ์ปัจจุบันของน้อง ๆ เยาวชน  

๑๑.เครือข่ำยเยำวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็ก ร่วมกับ เครือข่ำยสิทธิเด็กล้ำนนำ “ร่วมเฉลิมฉลองและ สร้างความตระหนักถึงสิทธิเด็กในวันเด็กสากล” (Universal Children’s Day) ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ และงาน มหกรรมสิทธิเด็กลา้นนา คร้ังที่ ๔ “พลงัเด็ก พลงัอนาคต” มหกรรม เด็กและสตรีส่งเสียง คร้ังที่ ๔ “ยุติความ รุนแรงขอพ้ืนที่ปลอดภยั”Lanna CRC Festival #๔ : Child-Friendly Space to End Violence against Children and  Women เนื่องในโอกาสครบรอบ ๓๒ ปี การลงสัตยาบันรับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กของประเทศไทย วันเสาร์ที่  ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๗ ช่วงเช้า ณ โรงแรมดวงตะวัน จังหวัดเชียงใหม่ กิจกรรมภาคเช้า ประกอบด้วย การ ออกบูทนิทรรศการของหน่วยงาน การเล่นเกม/กิจกรรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ในประเด็นต่างๆ การร่วม รณรงค์เขียนข้อความรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็กและสตรีการแสดงของเด็กเยาวชน พิธีเปิ ดงาน และเวทีเสวนา และร่วมการเสวนาโต๊ะกลม: เวทีเสวนาเพื่อสร้างความมุ่งมนั่ และผลกั ดันขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายแสวงหา

ผลการด าเนินงานมูลนิธิรักษ์เด็ก ประจ าปี ๒๕๖๗ 

๑๐ 

มาตรการและทรัพยากรเพื่อสิทธิเด็ก ภาคค่า เวทีรณรงคส์ าธารณะเด็กและสตรีส่งเสียง: “ยตุ ิความรุนแรง ขอพ้ืนที่ ปลอดภัย” ด้วยการแสดงและสื่อหลากหลายรูปแบบของเด็กเยาวชนและสตรีรวมถึงกิจกรรมสร้างความมุ่งมนั่ (Pledge of Action) ข่วงประตูท่ำแพ มีการจัดกิจกรรมการแสดงความสามารถของเยาวชน บูทนิทรรศการโดยมี ตวัแทนแต่ละองคก์ รข้ึนเวทีแนะนา บูธนิทรรศการบนเวทีการอ่านแถลงการณ์๕ ประเด็นเพื่อสิทธิเด็กและสตรี ต่อสาธารณะ และกิจกรรมนับถอยหลังเข้าสู่เทศกาลการรณรงค์การยุติความรุนแรงต่อเด็กหญิงและสตรี  ๒๕ พฤศจิกายน – ๑๐ ธันวาคม ๒๕๖๗ 

๑๒.แกนน าเยาวชน เครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็กและเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนาร่ วมจัด กิจกรรมรณรงค์ ในงำน เดิน วิ่ง ข้ำมโขง ๒๐๒๔ (Kham Kong Run #๓) “ยุติควำมรุนแรงด้วยเหตุแห่งเพศ” ณ เมืองห้วยทรำย แขวงบ่อแก้ว สปป.ลำว –อ ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรำย ระหว่างวันที่ ๗-๘ ธันวำคม ๒๕๖๗  น้อง ๆ แกนน าได้จัดกิจกรรมในบูทนิทรรศการ มีเกมบันไดงูเกี่ยวกับลดความรุนแรง โปสเตอร์รณรงค์“ละเลย  เลยรุนแรง” แจกพัดรณรงค์รู้เท่าทันภัยออนไลน์ แจกเอกสารข้อมูลหน่วยงานให้ความช่วยเหลือเมื่อเกิดเหตุจาก การใช้อินเตอร์เน๊ต และการละเมิดทางเพศ เกมจิ๊กซอร์เรื่อง สิทธิในเน้ือตวัร่างกาย สิทธิเด็กและประเภทความ รุนแรง มีป้ายผ้าให้เขียนข้อความรณรงค์ยุติความรุนแรง ประเด็นไม่ตีเด็ก และปัญหาเด็กลูกหลานแรงงานข้าม ชาติ และร่วมกิจกรรมรณรงค์ขบวนรถตุ๊กๆ โดย LCRC/CRYA /SUFASEC จ านวน ๒๐ คัน ติดป้ายรณรงค์ยุติ ความรุนแรง ๓ ภาษา (ไทย,อังกฤษ,ลาว) ติดต้งัแต่ ๖ -๑๕ ธ.ค.๒๕๖๗ และมีการนงั่ รถตุ๊กๆ โดยแกนนา เด็กและ พี่ๆ จ านวนประมาณ ๔๐ คน ถือปัายและแจกเอกสารเชิญชวนคนในตลาดร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการ ลดความรุนแรงและให้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมรณรงค์ รวมถึงมีส่วนร่วมกิจกรรมรณรงค์ร่วมกันที่สะพาน มิตรภาพ (เครือข่ายจาก ลาว /LCRC/CRYA) มีการข้ึนกล่าวแถลงการณ์และข้อเสนอแนะบนเวทีโดยตัวแทนของ แกนน าเยาวชน เครือข่ายเยาวชนนักกิจกรรมเพื่อสิทธิเด็กและเครือข่ายสิทธิเด็กล้านนา 

กจิกรรมส ำคัญที่มูลนิธิรักษ์เด็กด ำเนินงำน 

นอกเหนือโครงกำรต่ำงๆ และกำรส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมแก่แกนน ำเด็กและเยำวชน ในปี พ.ศ.๒๕๖๗ 

๑.ทุนการศึกษาต่อเนื่อง ม.๑ ถึง ม.๓ โดยเงินดอกเบ้ียได้จาก กองทุนจดั ต้งัมูลนิธิรักษเ์ด็ก (Scholarship) มูลนิธิรักษ์เด็กยังคงด ำเนินงำนมอบทุนกำรศึกษำต่อเนื่องส ำหรับเด็กระดับกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน โดยเงินได้จาก กองทุนจดั ต้งัมูลนิธิรักษเ์ด็กในปีพ.ศ.๒๕๖๗ จา นวน ๒ ทุน 

๒. ให้ความช่วยเหลือเพื่อบรรเทาทุกขแ์ก่เด็กเยาวชน และครอบครัว ที่เปราะบางต่อปัญหาสังคม ได้รับ การสนับสนุนงบประมาณ จาก Give ๒ Asia ได้ช่วยเหลือผู้ประสบภัยจำกปัญหำอุทกภัยน ้ำท่วม ที่บ้ำนเมืองกึ๊ด ม. ๒ ต.กึ๊ดช้ำง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ ซึ่งมีชาวบา้นผปู้ระสบภยัน้า ป่าไหลหลาก ที่อาศัยอยู่หลายชาติพันธุ์ เช่นคน ไทยทอ้งถิ่น กลุ่มชาติพนัธุ์ เผา่ ลาหู่คนไทใหญ่ ส่งมอบชุดถุงยังชีพ จ านวน ๑๒๐ ชุด มอบของส าหรับเด็กเล็ก  ไดแ้ก่นม ขนมสา หรับเด็ก ชุดแปรงสีฟัน ยาสีฟัน อุปกรณ์การเรียน เช่น ดินสอ สีปากกาไมบ้รรทดั ยางลบ สมุด ระบายสี สมุดโน๊ต จ านวน ๒๐๐ ชุด 

ผลการด าเนินงานมูลนิธิรักษ์เด็ก ประจ าปี ๒๕๖๗ 

๑๑ 

๓.สนับสนุนทุนการศึกษาใหแ้ก่นกัเรียนลูกหลานแรงงานขา้มชาติที่มีความประพฤติเรียบร้อยครอบครัว ได้รับผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจ จาก Give ๒ Asia จ านวน ๑ ราย  

๔.สนับสนุนทุนการศึกษาให้แก่นักเรียนลูกหลานแรงงานขา้มชาติที่ครอบครัวประสบปัญหาความ ยากล าบากจากความเปราะบางของครอบครัว สนับสนุนโดย CAF America จ านวน ๒ รายและมอบอุปกรณ์ ส าหรับเด็ก เช่น นม ผ้าอ้อมส าเร็จรูป จ านวน ๑ ราย 

________________________________________________________________ 

ติดต่อ มูลนิธิรักษ์เด็ก(The Life Skills Development Foundation) 

๑๕๙/๑๑๔ หมู่๑๐ หมู่บ้ำนอนุสำรวิลล่ำ ต ำบลป่ำแดด อำ เภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่๕๐๑๐๐ โทรศัพท์ : ๐๕๓-๒๑๒๗๕๗, โทรศัพท์เคลื่อนที่ ๐๘๑-๙๘๐-๑๖๕๒ 

Website:https://www.rakdek.org E-mail: tlsdfrd๒๐๒๑@gmail.com

ผลการด าเนินงานมูลนิธิรักษ์เด็ก ประจ าปี ๒๕๖๗ 

Share this content